@article{ลิขิตวิทยาวุฒิ_2022, title={ปัญหาความลักลั่นในการปรับใช้ “การไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบความผิด” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรคสาม และ “การสำคัญผิดในข้อเท็จจริง” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 62}, volume={5}, url={https://so08.tci-thaijo.org/index.php/MFULJ/article/view/66}, DOI={10.14456/mfulj.2022.11}, abstractNote={<p>การวินิจฉัยความรับผิดทางอาญาของบุคคลกรณีผู้กระทำมีการสำคัญผิดในข้อเท็จจริงตามกฎหมายไทยนั้น มีปัญหาความสับสนลักลั่น ระหว่างการปรับใช้ <em>“การไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบความผิด” </em>ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 59 วรรคสาม และ <em>“การสำคัญผิดในข้อเท็จจริง”</em> ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 62  กล่าวคือ แม้ข้อเท็จจริงในคดีที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะอย่างเดียวกัน แต่กลับมีการปรับใช้บทกฎหมายที่ต่างกัน ด้วยเหตุนี้จึงเกิดปัญหาของเสถียรภาพในการให้เหตุผลทางกฎหมายอย่างมีนัยสำคัญ บทความนี้จึงได้ทำการศึกษาวิเคราะห์ความเหมือน และความแตกต่างของบทกฎหมายทั้งสองมาตรา เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น</p>}, number={2}, journal={วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง}, author={ลิขิตวิทยาวุฒิ ดิศรณ์}, year={2022}, month={ก.ค.}, pages={181–200} }