ความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต ของบุคลากรทางการศึกษาในเขตสํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาบ้านผือ อําเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี
คำสำคัญ:
ความพึงพอใจ, การยื่นแบบแสดงรายการผ่านอินเทอร์เน็ต, ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาบทคัดย่อ
การวิจัยนี้วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ตของบุคลากรทางการศึกษาในเขตสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาบ้านผือ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ตของบุคลากรทางการศึกษาในเขตสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาบ้านผือ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี จำแนกปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรทางการศึกษาในเขตเทศบาลตำบลบ้านผือ จำนวน 187 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน T-test และ F-test และการวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้ Scheffe Analysis
ผลการวิจัยพบว่า 1) ความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ตของบุคลากรทางการศึกษาในเขตสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาบ้านผือ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี โดยภาพรวมพบว่า อยู่ในระดับมาก และ 2) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา และตำแหน่งงานแตกต่างกัน มีความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ตจะไม่แตกต่างกัน ส่วนรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน ความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ตจะแตกต่างกัน
References
กรมสรรพากร. (2565). การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา. สืบค้น ธันวาคม 1, 2565 จาก https://www.rd.go.th/558.html
กองการศึกษา เทศบาลตำบลบ้านผือ. (2565). โครงสร้างบุคลากรกองการศึกษา. สืบค้น ธันวาคม 1, 2565 จาก banphue.go.th/โครงสร้างบุคลากรกองการ/
กานดา ไชยปัญญา. (2564). ประสิทธิภาพการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตของผู้เสียภาษีในเขตพื้นที่จังหวัดนนทบุรี. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ขวัญฤทัย พัฒน์แก้ว. (2563). การตัดสินใจเลือกใช้บริการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต ของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานสรรพากรพื้นที่สมุทรปราการ 3. การการค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ณัฐวิทย์ เชื้อพรหม, และคนอื่นๆ. (2556). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการยื่นชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านทางอินเทอร์เน็ตในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการตลาด และการสื่อสาร, 1(2), 297 – 316.
ธัญนุช มานะชัยมงคล. (2563). ความรู้ความเข้าใจยื่นแบบภาษีบุคคลธรรมดา กรณีศึกษาประชากรพื้นที่เขตบางรัก จังหวัดกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นิรัช สุดสังข์. (2559). ระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน์.
พรพรรณ เดชะศิริประภา. (2560). ศึกษาลักษณะส่วนบุคคล กระบวนการขั้นตอน และคุณภาพการบริการยื่นแบบแสดงภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Revenue) ต่อความพึงพอใจในการยื่นแบบของพนักงานบริษัทเอกชน ในเขตสรรพากรพื้นที่ 10. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
พัชรินทร์ แก้วกอง และศรัณยา อิสรรักษ์. (2565). ความรู้ความเข้าใจในการเสียภาษีป้ายของผู้ประกอบการในเขตเทศบาลนครสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. ใน การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 15 วันที่ 21 มีนาคม 2565 (หน้า 214 – 223). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ยุพิน สรภูมิ. (2559). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการจัดเก็บภาษีขององค์การบริหารส่วนตำบลเขวาทุ่ง อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 5(1), 335-356.
วนิดา ปลื้มภักตร์. (2558). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
วิทยาลัยการอาชีพบ้านผือ. (2565). จำนวนบุคลากรวิทยาลัยการอาชีพบ้านผือ. สืบค้น ธันวาคม 1, 2565 จากhttp://www.bec.ac.th/web/index.php/2022-02-16-12-57-39/4
ศิริรัตน์ เจนศิริศักดิ์. (2563). ภาระภาษีสำหรับเงินได้ของบุคลากรทางการศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 11(2), 280 – 306.
สาวิตรี นาคศรีม่วง. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการยื่นแบบและแสดงรายการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมผ่านอินเทอร์เน็ตในเขตสำนักงานสรรพากร ภาค 4. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9(3), 127-138.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 4. (2565). ข้อมูลบุคลากรทางการศึกษา. สืบค้น ธันวาคม 1, 2565 จาก https://www.udon4.go.th/
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20. (2565). ข้อมูลบุคลากรทางการศึกษา. สืบค้น ธันวาคม 1, 2565 จาก https://sesa20.thai.ac/home/personal/1
สุมิทร เบ้าธรรม. (2558). วิจัยทางการบัญชี (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
ฬุลิยา ธีระธัญศิริกุล, และคนอื่นๆ. (2559). ความรู้และทัศนคติของผู้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในท้องที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สุราษฎร์ธานี 2. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 35(6), 204 – 213.
อณัศยาภา บุญรอด, และคนอื่นๆ. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกขอคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมผ่านบริการพร้อมเพย์ของผู้ยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรดาทางระบบอินเทอร์เน็ตในเขตพื้นที่จังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn Universityฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11(2), 3040-3055.
อ้อมจันทร์ วงศ์วิเศษ, และคนอื่นๆ. (2560). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้บริโภคในการเลือกใช้บริการธุรกิจออฟฟิตร่วมแบ่งปันในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 12(3), 59-66
อาริศรา นนทะคุณ. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านทางออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
Kumar, S. And Gupta, S. (2017). A Study on Income Tax Payers Perception towards Electronic Filing. Journal of Internet Banking and Commerce, 22(S7).
Nunnally, J. C. & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory. 2nd ed. Test and Measurement New York: McGraw-Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.