การแบ่งแยกแรงงานในสังคมกับการศึกษาเขตแดน/พรมแดนผ่านมุมมองของ Anssi Paasi
คำสำคัญ:
พรมแดน, การแบ่งแยกแรงงานในสังคม, ความขัดแย้งระหว่างประเทศบทคัดย่อ
พรมแดนเป็นองค์ประกอบหนึ่งของความเป็นรัฐสมัยใหม่และถูกศึกษาใน ทางวิชาการที่หลากหลายมิติ ทั้งในทางประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์การเมือง รวมไปถึงมานุษยวิทยาและสังคมวิทยาโดยเฉพาะในส่วนของสังคมวิทยานั้นอาจจะกล่าวได้ว่าเป็นรูปแบบหรือวิธีวิทยาในการศึกษาที่ขยายขอบเขตของการศึกษาเรื่องพรมแดน ออกไปมากกว่าที่จะเป็นเรื่องของรัฐเพียงอย่างเดียวแต่พรมแดนได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับ วิถีชีวิตของประชาชนทั่วไปด้วย Anssi Paasi นักวิชาการชาวฟินแลนด์เป็นนักวิชาการที่มีวิธีการศึกษาเรื่อง ของพรมแดนที่น่าสนใจอีกมิติหนึ่ง วิธีการศึกษาของเขาได้นาเอาหลักการของเอมิลเดอร์ไคม์เรื่อง การแบ่งแยกแรงงานในสังคมมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาพรมแดน จากวิธีการศึกษาดังกล่าวแสดงให้เห็นภาพความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนในรัฐกับพรมแดนในเชิง อัตลักษณ์
References
จักรกริช สังขมณี. (2551). พรมแดนศึกษาและมานุษยวิทยาชายแดน: การเปิดพื้นที่ สร้างเขตแดน และการข้ามพรมแดนของความรู้. ค้นเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. จาก http: //www.polsci.chula.ac.th/jakkrit/anthro/Home_files/ Border%20Studies% 20and%20Anthropology%20of%20Border.pdf.
จิราภา วรเสียงสุข. (2558). ทฤษฎีสังคมวิทยายุคคลาสสิก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ เอ็ม แอนด์ เอ็ม เลเซอร์พริ้นต์.
ธงชัย วินิจจะกูล. (2554). "เสียดินแดน" เป็นประวัติศาสตร์หลอกไพร่ไปตายแทน (เพราะ "ไทย" ไม่เคยเสียดินแดน). ค้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2559. จาก http: //www.matichon. co.th/ news_detail.php?.newsid=1297151137
ธงชัย วินิจจะกูล. (2556). กำเนิดสยามจากแผนที่ : ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ (Siam Mapped : a History of the Geo-Body of the Nation). กรุงเทพฯ : พิมพ์อ่าน, คบไฟ.
ธงชัย วินิจจะกูล. (2559). โฉมหน้าราชาชาตินิยม. กรุงเทพฯ : ฟ้าเดียวกัน.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (ม.ป.ป.). อิทธิพลของอีมิล เดอร์ไคม์. ค้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2559. จาก http: //www.sac.or.th/main/article_detail.php?.article_id=49&- category_id=11.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2557). ชาติไทย, เมืองไทย, แบบเรียนและอนุสาวรีย์ : ว่าด้วย วัฒนธรรม, รัฐ และรูปการจิตสำนึก. กรุงเทพฯ : มติชน.
พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิพงษ์. (2545). เอมิล เดอร์ไคฮ์ม กับสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พวงทอง ภวัครพันธุ์ และรณพล มาสันติสุข (2554). การเมืองและการแก้ไขข้อพิพาท เหนือดินแดนระหว่างจีนและรัสเซีย. (น.1-57). เขตแดนจีน-รัสเซีย-มองโกเลีย (Boundaries of China-Russia and Mongolia). กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ศิวศิลป์ จุ้ยเจริญ. (2558). เส้นทางรถไฟสายทรานส์ไซบีเรียกับการควบคุมดินแดนและ ขยายอิทธิพลของจักรวรรดิรัสเซียในดินแดนตะวันออกไกลช่วงปลายศตวรรษ ที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20. ว.รัสเซียศึกษา. 6 (2), 51-74.
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ และสุรชาติ บำรุงสุข. (บก). (2553). เขตแดน/พรมแดน/ชายแดน (Boundary/Frontier/ Border). จุลสารความมั่นคงศึกษา.
อนันตชัย เลาหะพันธุ และสัญชัย สุวังบุตร. (2553). รัสเซียสมัยซาร์และสังคมนิยม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศักดิโสภาการพิมพ์.
Academy of Finland Newsletter. (2015, March). Retrieved 15 January 2016. From http: //www.anpdm.com/newsletter/2369531/444058447442475B4171
Alexander, J. & C. P.D.Smith. (Eds.). (2005). The Cambridge companion to Durkheim. Cambridge : Cambridge University Press.
Carls, P. (n.d.). Émile Durkheim (1858-1917). Retrieved 20 January 2016. From http://www.iep.utm.edu/durkheim/
Ministry of Foreign Affairs of the People’s Republic of China. (n.d.). Conclusion of the "Sino-Soviet Treaty of Friendship, Alliance and Mutual Assistance." Retrieved 25 January 2016. From http: //www. fmprc.gov.cn/mfa_eng/ziliao_665539/3602_665543/3604_665547/t18011.shtml
Paasi, A. (1996). Territories, Boundaries and Consciousness : The Changing Geographies of the Finnish-Russian Border. Chichester : John Wiley.
Paasi, A. (2000). Territorial Identity as Social Constructs. Retrieved 12 December 2015. From https: //www.academia.edu/2241261/ Territorial_identities_as_social_constructs._Hagar_International_ Social_Science_Review_vol.1_issue_2_2000_pp._91-113
Paasi, A. (2003). Territory. Retrieved 15 December 2015. From https: // www.academia. edu/2241429/Paasi_Anssi_2003_. _Territory._In_Agnew_John_Mitchell_Katharyne_and_Gerard_Toal_ editors_2003_._A_Companion_to_Political_Geography._Blackwell_ Oxford_pp._109-122
Paasi, A. (2011). Theory and Practice of the Region : A Contextual Analysis of the Transformation of Finnish. Retrieved 12 December 2015. From http: //www.raco.cat/index.php/treballsscgeografia/article/ viewFile/256743/343733
Tashebsky, S. (2014). Retrieved 15 January 2016. From http: //www.liveinternet.ru/users/ sergey_tashebsky/post318551561/
Wilson, T. M. & H. DommanH. (Eds.). (2009). Border Identity: Nation and State at International Frontiers. New York : Cambridge University Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.