พิธีกรรมความเชื่อเรื่องผีที่มีผลต่อวิถีการเกษตร ของกลุ่มชาติพันธุ์บรู บ้านท่าล้ง ตำบลห้วยไผ่ อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
พิธีกรรมการเซ่นไหว้, ความเชื่อเรื่องผี, ความอุดมสมบูรณ์, กลุ่มชาติพันธุ์บรูบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผีที่มีต่อวิถีการเกษตรของชุมชนและเพื่อศึกษาพิธีกรรมการเซ่นไหว้อัยยะขะนาว (เจ้าปู่) เพื่อความอุดมสมบูรณ์ด้านการเกษตร ผลการศึกษาพบว่าชาวบรูเชื่อว่าเจ้าปู่สามารถดลบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลทำให้พืชผลเจริญงอกงามและให้ผลผลิตสูง ส่วนพิธีกรรมการเซ่นไหว้อัยยะขะนาวพบว่าพิธีกรรมการเซ่นไหว้อัยยะขะนาวจัดขึ้นทุกปี ปีละ 2 ครั้ง คือก่อนทำการเพาะปลูกในเดือนเมษายนและหลังการเก็บเกี่ยวในเดือนธันวาคม
References
เกียรติศักดิ์ บังเพลิง.(2558). ชุมชนชาติพันธุ์ “บรู” ร่วมสมัยบนพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว: วิถีชีวิตและการปรับตัวทางวัฒนธรรม. [ปริญญานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]
จิน ผึ่งป่า. การสื่อสารส่วนบุคคล. (1 เมษายน 2562). สัมภาษณ์.
ทรงฤทธิ์ ฉิมโหมด. (2560, มกราคม – มิถุนายน). ความเชื่อเรื่องผี ของชาวมอญหมู่บ้านวังกะ ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี. ว.มนุษยสังคมปริทัศน์, 19(1), 73-83.
ทรงสิริ วิชิรานนท์ (2559, มกราคม-มิถุนายน). ประเพณีผีขนน้ำ: กรณีศึกษาประเพณีผีขนน้ำบ้านนาซ่าว อำเภอเชียงคานจังหวัดเลย. ว.วิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระนคร, 1(1), 33-42.
ธีรเกียรติ แก้วใส. การสื่อสารส่วนบุคคล. (1 เมษายน 2562). สัมภาษณ์.
นิวัฒน์ หน่างเกษม. (2558). ความเชื่อเรื่องผีปู่ตาภาคอีสาน กรณีศึกษาบ้านครบุรี ตำบลครบุรีใต้ อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา. ว.มนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา, 4(1), 88-98.
บุญเหลือ ผึ่งป่า. การสื่อสารส่วนบุคคล. (1 เมษายน 2562). สัมภาษณ์.
ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์, และ ยุภาพร ยุภาศ. (2559). กระบวนการสร้างพื้นที่ทางสังคมของผีอีสาน. การจัดทำรายงานวิจัยเพื่อเสนอต่อสำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
เพ็ง แก้วใส. การสื่อสารส่วนบุคคล. (6 เมษายน 2562). สัมภาษณ์.
แพง แก้วใส. การสื่อสารส่วนบุคคล. (6 เมษายน 2562). สัมภาษณ์.
ภัทรลดา ทองเถาว์, และ สุวัฒนา เลี่ยมประวัต. (2563, มกราคม - มิถุนายน). บทบาทของความเชื่อเรื่องผีต่อสังคมอีสาน: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี. ว.ศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต, 15(2), 221-236.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2549). ศัพท์สังคมวิทยา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: หจก.ไอเดีย สแควร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ศิราพร ณ ถลาง. (2557). ทฤษฎีคติชนวิทยา วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนานนิทานพื้นบ้าน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริรัตน์ แอดสกุล. (2559). ความรู้เบื้องต้นทางสังคมวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภลักษณ์ ใจวัง. (2558). การศึกษาโครงสร้างบทบาทหน้าที่และคุณค่าในพิธีกรรมของชาวไทยเขินสันป่าตอง เชียงใหม่. [ปริญญานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่].
สมจิต ผึ่งป่า. การสื่อสารส่วนบุคคล. (6 เมษายน 2562). สัมภาษณ์. สุบรรณ แก้วใส. การสื่อสารส่วนบุคคล. (6 เมษายน 2562). สัมภาษณ์.
เหมวรรณ เหมะนัค. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). การเซ่นไหว้อัยยะขะนาวถวายไก่และข้าวเหนียว. [ภาพถ่าย]. อุบลราชธานี: สาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
เหมวรรณ เหมะนัค. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). การเซ่นไหว้อัยยะขะนาวถวายเหล้า. [ภาพถ่าย]. อุบลราชธานี: สาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
เหมวรรณ เหมะนัค. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). การเสี่ยงทายคางไก่. [ภาพถ่าย]. อุบลราชธานี: สาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
เหมวรรณ เหมะนัค. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). การเสี่ยงทายเพื่อหาจาละโบคนใหม่. [ภาพถ่าย]. อุบลราชธานี: สาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
เหมวรรณ เหมะนัค. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ของเซ่นไหว้ที่คนในหมู่บ้านเตรียมมาร่วมในพิธี. [ภาพถ่าย]. อุบลราชธานี: สาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
เหมวรรณ เหมะนัค. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). นายสุบรรณ แก้วใส จาละโบคนใหม่ของหมู่บ้าน. [ภาพถ่าย]. อุบลราชธานี: สาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
เหมวรรณ เหมะนัค. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ภายหลังการเซ่นไหว้เจ้าปู่มีการรดน้ำศาลเจ้าปู่. [ภาพถ่าย]. อุบลราชธานี: สาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
เหมวรรณ เหมะนัค. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ศาลอัยยะขะนาว (เจ้าปู่) มาร่วมในพิธี. [ภาพถ่าย]. อุบลราชธานี: สาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
อาหมัดอัลซารีย์ มูเก็ม. (2559). ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อ ที่มีความสัมพันธ์ต่อวิถีชีวิตของชนกลุ่มชาติพันธุ์เขมรบน พื้นที่บ้านจารย์ อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์. [ประกาศนียบัตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์].
Scott, W.P. (1988). Dictionary of Sociology. New Delhi: Ashwani Goyal for GOYLSaab.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.