กินในสำนวนถิ่นใต้: คำสอนผ่านการบริโภค

ผู้แต่ง

  • พัชรีย์ จำปา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คำสำคัญ:

ภาษาไทยถิ่นใต้, คำสอน, การบริโภค

บทคัดย่อ

ในสานวนถิ่นใต้มีคาว่า กิน ปรากฏอยู่จานวนหนึ่ง ซึ่งชาวไทยถิ่นใต้ได้นา มาประกอบเข้ากับคาต่างๆเพื่อต้องการอบรมสั่งสอนสมาชิกของสังคมให้เรียนรู้และเข้าใจ วิธีปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามครรลองของสังคม คาสอนที่ปรากฏอยู่ในสานวนเหล่านี้ มุ่งสอนในเรื่องที่เกี่ยวกับการกินและการปฏิบัติตนให้เหมาะสมได้แก่ มารยาทการกิน การทามาหากิน การปรุงรสอาหาร การเคารพผู้อาวุโสและความกตัญญูรู้คุณ คาสอนเหล่านี้สะท้อนให้เห็นว่า การกินนอกจากเป็นปัจจัยสาคัญและจาเป็นในการดารงชีวิตแล้ว ชาวไทยถิ่นใต้ยังได้เชื่อมโยงการกินให้กลายเป็นกฎระเบียบต่างๆ ที่สมาชิกในสังคม พึงยึดถือปฏิบัติอีกด้วย

References

เครือรัตน์ ฤทธิเดช. (2540). ถ้อยคำที่ใช้เป็นสำนวนในภำษำไทยถิ่นใต้ ตำบล ตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลำ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ประพนธ์ เรืองณรงค์. (2543). ข้าวยำคำใต้ กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า.

มานพ แก้วสนิท. (2544). ภำษิตและสำนวนเปรียบเทียบของชำวใต้. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

วิมล ดำศรี. (2540). ภำษิตและสำนวน : วรรณกรรมมุขปำฐะเมืองนครศรีธรรมรำช : กำรศึกษำเชิงวิเครำะห์. นครศรีธรรมราช : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และสำนักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฎนครศรีธรรมราช.

วิไลลักษณ์ เล็กศิริรัตน์. (2539). สำนวนไทยถิ่นใต้ : ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงภำษำกับ วัฒนธรรม. สงขลา : สถาบันราชภัฎสงขลา.

สืบพงศ์ ธรรมชาติ. (2539). รำยงำนกำรวิจัยเรื่องวิถีชีวิตชำวไทยภำคใต้จำก เพลงกล่อมเด็ก อำเภอเขำชัยสน จังหวัดพัทลุง. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-06-30