ความเชื่อและการประกอบสร้างภาพลักษณ์สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ของบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คำสำคัญ:
ภาพลักษณ์, ความเชื่อ, สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเชื่อต่อการประกอบสร้างภาพลักษณ์ของบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาต่อสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) โดยการสัมภาษณ์บุคลากร ศิษย์ปัจจุบัน และศิษย์เก่า ที่ร่วมพิธีกรรมบวงสรวงและกิจกรรมต่าง ๆ ในวันคล้ายวันพิราลัยผลการศึกษาพบว่าความเชื่อที่บุคลากรมีต่อสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) มี 2 ความเชื่อ ได้แก่ 1) เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำมหาวิทยาลัย ที่ทุกคนเคารพนับถือ และ 2) เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ยามมีเรื่องทุกข์กายทุกข์ใจก็ขอให้ท่านช่วยเหลือหรือบนบาน ส่วนการประกอบสร้างภาพลักษณ์มี 3 ภาพลักษณ์ ได้แก่ 1) ภาพลักษณ์เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่สามารถดลบันดาลให้ได้ในสิ่งที่ปรารถนา 2) ภาพลักษณ์เปรียบเสมือนบิดา ที่ชาวบ้านสมเด็จให้ความเคารพนับถือ และ 3) ภาพลักษณ์เป็นบุคคลสำคัญ ที่น่ายกย่องด้วยคุณูปการ คุณงามความดีของท่านทำให้บุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยายกย่องและเชิดชูท่านในฐานะบุคคลสำคัญ
References
กรรณิการ์ สมบูรณ์. ศิษย์เก่าสาขาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ. (18 มกราคม 2562). สัมภาษณ์.
ชลธิชา ศรีมูลเขียว. นักศึกษาปัจจุบันสาขาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์. (22 มีนาคม 2562). สัมภาษณ์.
ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. (2516). สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค). กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊ค.
นักรบ นาคสุวรรณ์. (2551). ความเชื่อและพิธีกรรมของประชาชนที่มีต่อพระพิฆเนศ: กรณีศึกษาเทวสถานในกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช].
นิชนัน โพธิสมจิต. ศิษย์เก่าสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์. (18 มกราคม 2562). สัมภาษณ์.
พรพรรณ ปลุกใจ. ศิษย์เก่าสาขานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ. (18 มกราคม 2562). สัมภาษณ์.
ไพรลดา กุศลสร้าง. เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (18 กุมภาพันธ์ 2562). สัมภาษณ์.
ภัคพล คงคาวงศ์. นักศึกษาปัจจุบันสาขาดนตรีตะวันตก คณะวิทยาลัยการดนตรี. (18 กุมภาพันธ์ 2562). สัมภาษณ์.
ภูริทัต ดีประเสริฐ. เจ้าหน้าที่สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (18 มกราคม 2562). สัมภาษณ์.
ยุทธนา กิจสุภี. (2559). วิเคราะห์ความเชื่อ ความศรัทธาและพิธีกรรมของประชาชนที่มีต่อศาลเจ้าพ่อหลักเมืองพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง].
ราชบัณฑิตยสถาน. (2552). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
ราชบัณฑิตยสถาน.(2556). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน
รัชนี วงศ์ตุรัน. เจ้าหน้าที่ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (25 มีนาคม 2562). สัมภาษณ์.
วรพงษ์ เกิดพร้อม. นักศึกษาปัจจุบันสาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (20 มีนาคม 2562). สัมภาษณ์.
วรรณิษา ทองแก้ว. ศิษย์เก่าสาขาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ. (18 มกราคม 2562). สัมภาษณ์.
วรุณรัตน์ คนซื่อ. อาจารย์ประจำสาขาสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (29 กรกฎาคม 2562). สัมภาษณ์.
สง่า พัฒนชีวะพูล. (2538). เจ้าพ่อพญาแล: ความเชื่อและพิธีกรรม. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม].
สหรัฐ พรหมทัสน์. นักศึกษาปัจจุบันสาขาสังคมศาสตร์ คณะครุศาสตร์. (20 มีนาคม 2562) .สัมภาษณ์.
สายพิณ แก้วงามประเสริฐ. (2537). ภาพลักษณ์ท้าวสุนารีในประวัติศาสตร์ไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์].
สุภาภรณ์ อินสันเที๊ยะ. ศิษย์เก่าสาขาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์. (19 มกราคม 2562). สัมภาษณ์.
อภิวัฒน์ สุธรรมดี. อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (27 ธันวาคม 2561). สัมภาษณ์.
อัควิทย์ เรืองรอง. (2543). คติความเชื่อของนักศึกษาที่มีต่อ ‘เจ้าพ่อ’. สหวิทยาการสู่สหัสวรรษใหม่: รวมบทความด้านมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, (1), 85-104.
อัควิทย์ เรืองรอง. (2561). การประกอบสร้างความหมายเพื่อเชิดชูเกียรติคุณสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหา ศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) จากการแสดงโขนชุด “ท้าวมาลีวราชว่าความ”. ทีทัศน์วัฒนธรรม, 17(2), 123-149.
อินทิรา แก้วขาว. (2552). ความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับสมเด็จเจ้าเกาะยอของชุมชนเกาะยอ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช].
อุทัย ภัทรสุข. (2554). การศึกษาอิทธิพลของพระธาตุพนมที่มีต่อความเชื่อและพิธีกรรมของชุมชนลุ่มแม่น้ำโขง. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย].
เอกชัย ล้ำประเสริฐ. นักศึกษาปัจจุบันสาขาพลศึกษา คณะครุศาสตร์. (18 กุมภาพันธ์ 2562). สัมภาษณ์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.