เอเชียทีค: ทุนทางวัฒนธรรมกับการสร้างสถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ย่านทันสมัย
คำสำคัญ:
ทุนวัฒนธรรม, พื้นที่ย่านทันสมัย, เอเชียทีคบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีคิดในการสร้างสถานที่ท่องเที่ยว “เอเชียทีค” ย่านเจริญกรุง ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดในการสร้างสถานที่ท่องเที่ยว “เอเชียทีค” มีลักษณะการนำเสนอเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์ของพื้นที่เพื่อดึงดูดใจ นักท่องเที่ยว นอกจากนี้ “เอเชียทีค” ยังมีการนำเสนอความเป็นไทย ในรูปแบบต่าง ๆ อีกทั้งยังมีการนำทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างสรรค์ให้เป็นสินค้าทางวัฒนธรรม ซึ่งบริบทสำคัญที่ทำให้เกิดวัฒนธรรมการท่องเที่ยวในลักษณะดังกล่าว คือ บริบทโลกาภิวัตน์ บริบททุนนิยมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์
References
ธวรรณเทพ มงคลศิริ. (2561). บ้านไม้เก่าแก่และแม่ค้าที่เอเชียทีค. [ภาพถ่าย]. กรุงเทพฯ : สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
ธวรรณเทพ มงคลศิริ. (2561). ประติมากรรมเกี่ยวกับคนงานที่เอเชียทีค. [ภาพถ่าย]. กรุงเทพฯ : สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
ธวรรณเทพ มงคลศิริ. (2561). แผ่นป้ายบอกประวัติความเป็นมาและสถานที่สำคัญของเอเชียทีค. [ภาพถ่าย]. กรุงเทพฯ : สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
ธวรรณเทพ มงคลศิริ. (2561). สวนจูเลียตที่เอเชียทีค. [ภาพถ่าย]. กรุงเทพฯ : สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
ธวรรณเทพ มงคลศิริ. (2561). หลุมหลบภัยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เอเชียทีค. [ภาพถ่าย]. กรุงเทพฯ : สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
นิภา อ่อนน้อม. ผู้ขายของที่เอเชียทีค. (สัมภาษณ์, 13 พฤษภาคม 2561).
ศรัณยู นกแก้ว. (2560). “เจริญกรุง” ชุมชนเก่าที่ถูกเล่าใหม่ด้วยความคิดสร้างสรรค์. ค้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2561. จาก https://www.creativethailand.net.com
ศิราพร ณ ถลาง. (2559). คติชนสร้างสรรค์ : บทสังเคราะห์และทฤษฎี. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
ศิราวุฒิ (นามแฝง). หัวหน้าผู้นำทัวร์. (สัมภาษณ์, 13 พฤษภาคม 2561).
สุกัญญา สุจจฉายา. (2556). ทุนวัฒนธรรมกับวัตถุมงคลในปัจจุบัน. วารสารอักษรศาสตร์ (ฉบับพิเศษ คติชนสร้างสรรค์). 42 (2), 75-102.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2019 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.