การสำรวจสถานะองค์ความรู้ของปัจจัยสาเหตุและมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชน: ช่องว่างองค์ความรู้สำหรับการวิจัยในอนาคต

ผู้แต่ง

  • อารดา คูเจริญ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

ยาเสพติด, ปัญหายาเสพติด, สาเหตุของปัญหายาเสพติด, การป้องกันปัญหายาเสพติด, การแก้ไขปัญหายาเสพติด

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการสำรวจสถานะองค์ความรู้ (State of art) ของปัจจัยสาเหตุการติดยาเสพติด และ มาตรการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสังเคราะห์ช่องว่างขององค์ความรู้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาในอนาคต การสำรวจสถานะองค์ความรู้ได้นำไปสู่การค้นพบว่า ช่องว่างขององค์ความรู้ที่เกี่ยวกับปัจจัยสาเหตุการติดยาเสพติดในกลุ่มเยาวชนได้แก่ 1) ปัจจัยครอบครัว ประกอบด้วยตัวแปร “ความรุนแรงภายในครอบครัว” “การถูกละเมิดทางเพศ” “การยอมรับของผู้ปกครอง” “การสนับสนุนจากผู้ปกครอง” 2) ปัจจัยทางจิตวิทยา ประกอบด้วยตัวแปร “ความฉลาดทางอารมณ์” “การรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม” “การมีวินัยในตนเอง” “การรู้จักตนเอง” และ การรู้สึกด้อยกว่าผู้อื่น 3) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วยตัวแปร “อัตราการจ้างงาน” “อัตราเงินเฟ้อ” “ผลผลิตมวลรวม” “รายได้ประชาชาติ” 4) ปัจจัยสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยตัวแปร “ระดับความเข้มแข็งของชุมชน” “สภาพเศรษฐกิจของชุมชน” “ทัศนคติต่อยาเสพติดของคนในชุมชน” 5) ปัจจัยสื่ออินเทอร์เน็ตและเครือข่ายสังคมออนไลน์ ประกอบด้วยประเด็น “พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของวัยรุ่นที่เสี่ยงต่อการติดยาเสพติด” “อิทธิพลของสื่อสังคมออนไลน์แต่ละประเภทต่อการติดยาเสพติดของเยาวชน” และ“การศึกษารูปแบบการสื่อสารในการซื้อขายยาเสพติดผ่านทางอินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์” สำหรับช่องว่างองค์ความรู้เกี่ยวกับมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ได้แก่ 1) มาตรการที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน 2) มาตราการที่ใช้ครอบครัวเป็นฐานและ 3) มาตรการที่ใช้สื่ออินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งนักวิจัยสามารถศึกษามาตรการดังกล่าว เพื่อเติมเต็มองค์ความรู้ในด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเยาวชนในอนาคต

References

กิตติธัช แสนภูวา และมณฑา จำปาเหลือง. (2557, กันยายน - ธันวาคม). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินการป้องกันแก้ไขสารเสพติดของโรงเรียนต้นแบบระบบมาตรฐานการต้านยาเสพติดในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และจังหวัดกาญจนบุรี, Veridian E-Journal ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 7(3), 90-104

กัญญา ภู่ระหงษ์. (2561, พฤษภาคม - สิงหาคม). ปัจจัยที่มีผลต่อการเสพซ้ำของผู้ติดยาเสพติดในเขตจังหวัดปทุมธานี. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 32(2), 23-40

ณิชธร ปูรณะปัญญา. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดของเด็กและเยาวชนในจังหวัดบุรีรัมย์. [วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต].

นนทรี สัจจาธรรม. (2556). รายงานผลการวิจัยเรื่องทัศนคติและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์. นนทบุรี: วิทยาลัยราชพฤกษ์.

นำ กรุยรุ่งโรจน์ และวัชรินทร์ เหรียญหล่อ. (2561, มกราคม - มิถุนายน). มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันเด็กและเยาวชนสูบบุหรี่. วารสารบัณฑิตศาส์นมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย. 16(1), 248-254.

นุชสา อินทจักร และสมเดช พินิจสุนทร. (2560). มูลเหตุจูงใจในการใช้ยาเสพติดของผู้ที่เข้ารับการบำบัดในโรงพยาบาลธัญญารักษ์อุดรธานีในนเรศวรวิจัยครั้งที่ 13 วิจัยและนวัตกรรมขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม วันที่ 20-21 กรกฎาคม 2560 ณ อาคารเอกาทศรถมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก.

บุรฉัตร จันทร์แดง เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร และสัญญา เคณาภูมิ. (2562, กันยายน - ธันวาคม). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อยาเสพติดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่ตะเข็บชนแดนลุ่มน้ำโขง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 14(3), 424-432.

พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562. (2562,18 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 (ตอนที่ 19 ก), หน้า 1-16.

รุ่งทิวา ใจจา. (2560, มกราคม - เมษายน). การพัฒนาศักยภาพแกนนำในการให้คำปรึกษาปัญหายาเสพติดเบื้องต้นในชุมชน. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ. 10(1), 9-25.

วราภรณ์ มั่งคั่ง จินตนา วัชรสินธุ์ และวรรณี เดียวอิศเรศ. (2559, กรกฎาคม - ธันวาคม). ปัจจัยครอบครัวที่มีผลต่อการใช้ยาเสพติดของวัยรุ่นชาย. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา, 11(2), 53-63.

วัฒนพงศ์ วงศ์ใหญ่. (2563, มกราคม - มิถุนายน). มาตรการทางกฎหมายกับผู้เสพยาเสพติดของไทย. วารสารนิติรัฐกิจและสังคมศาสตร์. 4(1), 93-108.

วิโรจน์ แย้มปราศรัย. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อการกระทำผิดซ้ำเกี่ยวกับพระราชบัญญัติยาเสพติด: กรณี ศึกษาทัณฑสถานหญิง จังหวัดชลบุรี. [วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา].

ศิริลักษณ์ ปัญญา และเสาวลักษณ์ ทางแจ้ง. (2563, เมษายน - มิถุนายน). การกระทำผิดซ้ำในคดียาเสพติดของเด็กและเยาวชนในสังคมไทยยุค 4.0. พยาบาลสาร. 47(2), 514-525.

สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี. (2562). จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยนอกยาเสพติด ปีงบประมาณ 2558-2562. สืบค้น 2 กุมภาพันธ์ 2563, จาก http://www.pmnidat.go.th/thai/index.php?option=com_content&task=view&id=3013&Itemid=53

สัญญา ขันธนิยม. (2553). มูลเหตุจูงใจในการเสพยาบ้าของผู้เสพยาบ้า: กรณี พ.ร.บ.ฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545 เรือนจำจังหวัดอยุธยา. [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์].

สีนวล บุญย่านยาว. (2559). การดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของสถานศึกษา อำเภอบางกระทุ่ม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2. หน้า 339-345 ในการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 ก้าวสู่ทศวรรษที่ 2: บูรณาการงานวิจัยใช้องค์ความรู้ สู่ความยั่งยืน 17 มิถุนายน 2559 ณ วิทยาลัยนครราชสีมาอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา.

สุนทร ปัญญะพงษ์ อัญชลี ชัยศรี และเกศสุดา โภคานิตย์. (2563, มกราคม-มิถุนายน). ศักยภาพชุมชนในการจัดการปัญหายาเสพติดจังหวัดชัยภูมิ. วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์. 5(1), 63-73.

Ahmed, Z. & Hossain, M. I. (2015, January - June). Unattended Child ‘s Vulnerability to Drug Addiction: A Study on Agargaon and Adabor Slum Area of Dhaka City. ASA University Review, 9(1), 119-135.

Catalano, R., et al. (2011). The Health Effects of Economic Decline. The Annual Review of Public Health, 32, 431-450.

Caukins, J. P., Pacula, R. L., Paddock S., & Chiesa J. (2004, March). What we can and cannot expect from school-based drug prevention. Drug and alcohol, 23(1),79-87. doi: 10.1080/09595230410001645574.

Champion, K. E., & Newton, N. C., Stapinski, L. A. & Teesson, M. (2016, August). Effectiveness of a Universal Internet-Based Prevention Program for Ecstasy and New Psychoactive Substances: a Cluster Randomized Controlled Trial. Addiction, 111(8), 1396–1405.

Clough, A.R. & Jones, P.T. (2004, March). Policy Approaches to Support Local Community Control over the Supply and Distribution of Kava in the Northern Territory (Australia). Drug and Alcohol Review, 23(1), 117 – 126.

Copeland, A.L., et al. (2010, April). A School-based Alcohol, Tobacco, and Drug Prevention Program for Children: The Wise Mind Study. Cognitive Therapy and Research, 34, 522–532.

Costello, C.R. & Ramo, D.E. (2017, June). Social Media and Substance Use: What Should We be Recommending to Teens and Their Parents?. Journal of Adolescent Health, 60(6), 629-630.

Cuijpers,P., Jonkers,R., Weerdt,I.D. & Jong, A.D. (2002, January). The Effects of Drug Abuse Prevention at School: the ‘Healthy School and Drugs’ Project. Addiction, 97(1), 67-73.

Dusenbury, L. (2000, June). Family-based Drug Abuse Prevention Programs: a Review. The Journal of Primary Prevention, 20(4), 337-352.

Enoch, M. (2011, March). The Role of Early Life Stress as a Predictor for Alcohol and Drug Dependence. Psychopharmacology, 214(1),17-31.

Fang, L., Barnes-Ceeney, K., & Schinke, S. (2011, November). Substance Use Behavior among Early-Adolescent Asian American Girls: The Impact of Psychological and Family Factors. Women & Health, 51(7), 623–642.

Gripenberg, J., Wallin, E., & Andréasson, S. (2007). Effects of a Community-Based Drug Use Prevention Program Targeting Licensed Premises. Substance Use & Misuse, 42(12-13), 1883–1898.

Ismail, A., Affandy, H.B., Basir, S.N. & Ahmad,N. (2014) The Internet: One of the Factors Influencing Substance Abuse in Conference: 2nd IMT-GT Regional Convention On Drug Substance & Alcohol Abuse among Tertiery Institutions 2014 at: Alor Star.

Kumpfer, K. L. (2014, March). Family-Based Interventions for the Prevention of Substance Abuse and Other Impulse Control Disorders in Girls. ISRN Addiction, 308789,1-23.

Marsiglia, F.F., Stephanie, L. A., Robbins, D. & Nagoshi, J. (2019, March). The Initial Assessment of a Community-Based Intervention with Mexican-Heritage Parents in Boosting the Effects of a Substance Use Prevention Intervention with Youth. Journal of Community Psychology, 47(2), 195–209.

Nagelhout, G. E., et al. (2017, June). How Economic Recessions and Unemployment Affect Illegal Drug Use: A Systematic Realist Literature Review. The International Journal on Drug Policy, 44, 69–83.

Nomura, Y., Hurd, Y. L., & Pilowsky, D. J. (2012, October). Life-Time Risk for Substance Use among Offspring of Abusive Family Environment from the Community. Substance use & misuse, 47(12), 1281–1292.

Patterson, F., et al. (2010, January). Working Memory Deficits Predict Short-Term Smoking Resumption Following Brief Abstinence. Drug and Alcohol Depend, 106(1), 61-64.

Ruisoto, P. & Contador, I. (2019, April). The Role of Stress in Drug Addiction: An Integrative Review. Physiology and Behavior, 202, 62–68

Schäfer, G. (2011, June). Family Functioning in Families with Alcohol and Other Drug Addiction. Social Policy Journal of New Zealand, 37, 1-17.

Sharma, M. (2004, October). Organizing Community Action for Prevention and Control of Alcohol and Drug Abuse. Journal of Alcohol and Drug Education, 48(2), 1–4.

Sharma,R. (2016, August). Role of Family Relationship in Child Rearing of Drug Addiction Afflicted vs Normal Families. Indian Journal of Health and Wellbeing, 7(8), 807-809.

Scherbaum, N., & Specka, M. (2008, June). Factors Influencing the Course of Opiate Addiction. International Journal of Methods in Psychiatric Research, 17(1), 39–44.

Smith,P.D. & Lannon,A.P. (2017, November). Local Regulation of Medical Marijuana in Florida. The Florida Bar Journal, 91(9), 59.

Tylera,K.A.,et al. (2018, April). The Role of Protective Behavioral Strategies, Social Environment, and Housing Type on Heavy Drinking among College Students. Substance Use & Misuse, 53(5), 724–733.

UNODC. (2019). Annual Report 2019. Uzbekistan: UNODC.

Valente, T. W., et al. (2007, November). Peer Acceleration: Effects of a Social Network Tailored Substance Abuse Prevention Program among High-Risk Adolescents. Addiction, 102(11), 1804–1815.

Vicente, M.V.D.,Brage, L.B., Socías,M.C.O. & Fernández,J.A.A. (2017, August). Meta-Analysis of Family-Based Selective Prevention Programs for Drug Consumption in Adolescence. Psicothema, 29(3), 299-305.

Voisin, D. R., Kim, D. H., Bassett, S. M., & Marotta, P. L. (2020, Febuary). Pathways Linking Family Stress to Youth Delinquency and Substance Use: Exploring the Mediating Roles of Self-Efficacy and Future Orientation. Journal of Health Psychology, 25(2), 139–151.

Wu, Z., Detels, R., Zhang, J., Li, V., & Li, J. (2002, December). Community-Based Trial to Prevent Drug Use among Youths in Yunnan, China. American Journal of Public Health, 92(12), 1952-1957.

Yamatania, H., Feitb, M., & Mann, A. (2017, March). The Drug Abuse Prevention and Control Act of 1970: Retrospective Assessments of Disparate Treatment and Consequential Impact. Social Work in Public Health, 32(4), 290–300.

Zimic,J.I. & Jukic,V. (2012, April - June). Familial Risk Factors Favoring Drug Addiction Onset. Journal of Psychoactive Drugs, 44(2), 173-185.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30