การบูรณาการแนวคิดจากทุนวัฒนธรรมสู่ผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ของชุมชนเขตธนบุรี

ผู้แต่ง

  • จุฬาลักษณ์ จารุจุฑารัตน์ สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์ (หลักสูตรสองภาษา) คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • มิยอง ซอ สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์ (หลักสูตรสองภาษา) คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คำสำคัญ:

การบูรณาการแนวคิด, ทุนวัฒนธรรม, ผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์, เขตธนบุรี

บทคัดย่อ

การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลกายภาพ ทุนทางวัฒนธรรม วิถีวัฒนธรรมชุมชมและอัตลักษณ์ชุมชนในเขตธนบุรี 2) เพื่อสังเคราะห์และสร้างภาพแทนของอัตลักษณ์ที่เป็นตัวแทนของชุมชนในเขตธนบุรีและเชื่อมโยงของแนวคิดเชิงออกแบบและการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม สร้างโมเดลกระบวนการวิจัยสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการประชุมกลุ่มย่อยและการสังเกตพฤติกรรมของประชากรในงานวิจัย คือ ชุมชนในเขตธนบุรีซึ่งแบ่งออกได้ทั้งหมด 7 แขวง จำนวน 42 ชุมชน และคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรในแขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี จำนวน 9 ชุมชน จำนวน 30 คน ผลการวิจัย พบว่า ได้ข้อมูลอัตลักษณ์ทุนวัฒนธรรมที่ผ่านการสังเคราะห์สำหรับการพัฒนาเป็นรูปแบบผลิตภัณฑ์และโมเดลกระบวนการวิจัย การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับการพัฒนารูปแบบลวดลายอัตลักษณ์ของชุมชนแขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรีด้วยแนวคิดเชิงออกแบบและการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม และประเมินลวดลายต้นแบบโดยตัวแทนชุมชนคัดเลือกจำนวน 4 ลวดลาย คือ ลวดลายหัวสิงโต ลวดลายชฎา ลวดลายพระ และลวดลายสามเหลี่ยม และประยุกต์ลวดลายลงบนผลิตภัณฑ์เสื้อ แก้วเยติ ผ้าพันคอ และตะกร้าสาน ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ที่เป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และชุมชนร่วมเรียนรู้กระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์บนฐานทุนทางวัฒนธรรมเพื่อสร้างสรรค์ผลงานผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการเป็นชุมชนต้นแบบและเผยแพร่องค์ความรู้ไปยังชุมชนอื่น ๆ ต่อไป

References

Boonlong, P. et.al. (2016). Academic work for society: principles and methods. Thailand Research Fund (TRF). [In Thai]

Brown, T. (2009). Change by Design. HarperCollins Publisher.

Chamnian, M. (2021). Community product identity for brand creation and communication. A case study of the Tone Nok Phithid dance performance. Ratchaphruek Journal, 19(2), 1-12. [In Thai]

Chanthajon, S., Bunchai, P. & Thitphat, P. (2009). The value of local arts and cultural identity and their application as local products to increase economic value and cultural tourism in the northeastern, central and southern regions. Maha Sarakham. Isaan Arts and Culture Research Institute Mahasarakham University. [In Thai]

Choiruang, S. (2015). Product identity design in Pathum Thani province from scrap fabric handicrafts. [Master of Arts degree program, Silpakorn University]. [In Thai]

Fuengfusakul, A. (2003). Identity: A Review of Theory and Conceptual Framework. National Research Council of Thailand. Department of Sociology National Research Council of Thailand. [In Thai]

Jarujutarat, J. [Photographer]. (2022). Applying patterns onto shirts, Yeti glasses, scarves and woven basket. [Photo]. Bansomdejchaopraya Rajabhat University. [In Thai]

Jarujutarat, J. [Photographer]. (2022). Buddha image pattern, triangle lion head and chada image respectively from the evaluation by community representatives of Hiranruchi Sub-district, Thonburi District. [Photo]. Bansomdejchaopraya Rajabhat University. [In Thai]

Jarujutarat, J. [Photographer]. (2022). Decoding the identity of cultural capital in Hiranruchi Sub-district, Thonburi District. [Photo]. Bansomdejchaopraya Rajabhat University. [In Thai]

Jarujutarat, J. [Photographer]. (2022). Focus group meeting with Thonburi community representatives. [Photo]. Bansomdejchaopraya Rajabhat University. [In Thai]

Jarujutarat, J. [Photographer]. (2022). Model for the development of community identity patterns in Hiranruchi sub-district, Thonburi district with design thinking and participatory action research (PAR). [Photo]. Bansomdejchaopraya Rajabhat University. [In Thai]

Jarujutarat, J. [Photographer]. (2022). Small group meeting with community representatives of Hiranruchi Sub-district, Thonburi district. [Photo]. Bansomdejchaopraya Rajabhat University. [In Thai]

Jarujutarat, J. [Photographer]. (2023). Cultural capital identities in Thonburi District. [Photo]. Bansomdejchaopraya Rajabhat University. [In Thai]

Issarasena Na Ayutthaya, P. & Trirattanapan, C. (2017). Design Thinking: Learning by Doing: Learn by doing. Creative Design Center (TCDC). [In Thai]

Liyan, B. (2019). Research on the Design of Cultural Creativity Products Based on Zigong Well Salt Culture. Earth and Environmental Science, 223(2), 1-6.

Thonburi District Office. (2022). Thonburi district information. Retrieved December 12, 2022. https://webportal.bangkok.go.th/thonburi [In Thai]

Wattanakit, S. & Noisangiam, N. (2022). Study of community identity to guide design. Architecture of the Palian Basin, Trang Province. Parichat Journal Thaksin University, 35(1), 187-202. [In Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-02-19