บทบาททางวัฒนธรรมดนตรีไทยของบ้านโสมส่องแสง
คำสำคัญ:
บทบาททางวัฒนธรรม, ดนตรีไทย, บ้านโสมส่องแสงบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของบ้านโสมส่องแสง ซึ่งจากการศึกษาพบว่า บ้านโสมส่องแสง มีบทบาทด้านการอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมดนตรีไทย ดังนี้ 1. บทบาทด้านการสืบทอดการบรรเลงขิม 2. บทบาทด้านการสืบทอดทางขับร้องและการเป็นผู้ช่วยในงานไหว้ครูดนตรีไทย 3. บทบาทด้านการสืบทอดความรู้ทางด้านดนตรีไทยให้แก่ศิษย์ 4. บทบาทด้านสืบทอดวัฒนธรรมทางด้านการประพันธ์เพลงไทย 5. บทบาทด้านการจัดพิธีมอบให้เป็นประธานในการประกอบพิธีไหว้ครูบ้านโสมส่องแสง 6. บทบาทด้านการทำประโยชน์ให้แก่สังคม 7. บทบาทด้านการสืบทอดการบรรเลง โดยการเปิดสอนดนตรีไทยและเผยแพร่ผลงานทางดนตรีไทยสู่สาธารณชนและ 8. บทบาทด้านการเผยแพร่ผลงานของครูมนตรี ตราโมท
References
กชภรณ์ ตราโมท. (2546). บ้านครูมนตรี ตราโมท. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
กชภรณ์ ตราโมท. (2550). เอกสารการประชุมระดมความคิด แผนพัฒนาพิพิธภัณฑ์บ้านครูมนตรี ตราโมท: ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
กชภรณ์ ตราโมท และจรวยพร สุเนตรวรกุล. (2543). เปิดบ้านรำลึกวาระ 100 ปี ครูมนตรี ตราโมท : คีตกวี 5 แผ่นดิน (เปิดบ้านครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : เอ็ม.ที.เพรส.
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). ครูต้นแบบ 2542. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.
คณะมูลนิธิมนตรี ตราโมท. (2549). งานเปิดบ้านศิลปินแห่งชาติ. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2531). การสืบทอดมรดกวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา.
คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2538). เทิดทูนครูดนตรีไทยและนาฏศิลป์ของแผ่นดินไทย : พ่อ...ครู. กรุงเทพฯ : พริ้นติ้งเซ็นเตอร์.
งามพิศ สัตย์สงวน. (2538). หลักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา.
พรทิพย์ อินทิวโรทัย. (2539). การวิเคราะห์รูปแบบความเป็นครูและกระบวนการถ่ายทอดความรู้ของครูมนตรี ตราโมท ในกลุ่มผู้สืบทอดที่ต่างกัน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสารัตถศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมพร ชัยจิตร์สกุล. (2545). การสืบทอดวัฒนธรรมดนตรีไทย : กรณีศึกษาชุมชนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พูนพิศ อมาตยกุล. (2529). ดนตรีวิจักษ์. กรุงเทพฯ : สยามสมัย.
พูนพิศ อมาตยกุล. (2528). สยามสังคีต. กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์.
พูนพิศ อมาตยกุล . (2531). ถนนดนตรี. กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์.
พูนพิศ อมาตยกุล . (2539). เอกสารประกอบการเรียนวิชาประวัติและพัฒนาการของดนตรีไทย. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
พูนพิศ อมาตยกุล. และคณะ. (2532). นามานุกรมศิลปินเพลงไทยในรอบ 200 ปี กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์.
มนตรี ตราโมท. (2526). ดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์.
มนตรี ตราโมท. (2530). การอภิปรายเรื่องชีวิตและผลงานของศิลปินแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.
มนตรี ตราโมท. (2530). ชีวิตและผลงานของศิลปินแห่งชาติ. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
มนตรี ตราโมท. (2538). ดนตรีไทย. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช.
มนตรี ตราโมท. (2543). คำอธิบายเพลงพร้อมโน้ตและบทความเพลงไทย. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.
มาศสภา สีสุกอง. (2531). พัฒนาการของการศึกษาวิชาชีพดนตรีไทยในรัตนโกสินทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยศ สันตสมบัติ. (2537). มนุษย์กับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สิริชัยชาญ ฟักจำรูญ. (2538). วิธีสอนให้เป็นคนดีของพ่อมนตรี ตราโมท. พ่อ.....ครู. ใน หนังสืออนุสรณ์ศพนายมนตรี ตราโมท. กรุงเทพฯ : พริ้นติ้งเซ็นเตอร์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.