ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์
คำสำคัญ:
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์, พลังงานนิวเคลียร์, กระแสไฟฟ้า, รังสี, วัสดุกัมมันตรังสี, เครื่องกำเนิดรังสี, วัสดุนิวเคลียร์, เชื้อเพลิงนิวเคลียร์, กากกัมมันตรังสีบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางกฎหมายเกี่ยวกับการนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศไทย โดยรวบรวมวิเคราะห์สาระสำคัญของกฎหมายอันเกี่ยวกับการนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศไทย และวิเคราะห์หามาตรการที่เหมาะสมทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพลังไฟฟ้านิวเคลียร์มาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศไทย
References
เครือข่ายกาญจนภิเษก. (2563). โรงไฟฟ้านิวเคลียร์. สืบค้น 10 มิถุนายน 2563, จาก http://kanchanpisek.or.th
ทบวงการปรมาณูระหว่างประเทศ. (2560). เอกสารแนะนำแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยเฉพาะทางด้านการจัดวางระบบกระบวนการอนุญาตการติดตั้งและก่อสร้างอุปกรณ์สำหรับการใช้ ประโยชน์ด้านนิวเคลียร์ฯ ของทบวงการปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA)ตามเอกสารข้อกำหนด No.SSG-12. กรุงเทพฯ: ทบวงการปรมาณูระหว่างประเทศ.
พระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2504 (และที่แก้ไขเพิ่มเติมพ.ศ. 2508). (2504, 14 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 78 ตอนที่ 36. หน้า 423 – 436.
พีรวุฒิ บุญสุวรรณ และ อนิรุทธ์ ทรงจักรแก้ว. (2554). หกทศวรรษของอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์การเยียวยาความเสียหายและปัญหาการจัดการกากกัมมันตรังสี. กรุงเทพฯ: สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ.
วันชัย ธรรมวานิช. (2554). การผลิตไฟฟ้าด้วยนิวเคลียร์. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ.
สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ. (2560). อนุสัญญาและสนธิสัญญา สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมกรุงเทพมหานคร. สืบค้น 20 มีนาคม 2563. จาก http://www.oap.go.th/about-us/treaties.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2504). พระราชบัญญัติ พลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2504 (ฉบับแก้ไขตามพระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2508). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2559). พระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. 2559. สำนักงานกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ. (2553). รายงานวิจัยการเยียวยาความเสียหายจากการใช้พลังงานปรมาณู. กรุงเทพฯ: สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ.
โสภณ รัตนากร. (2551). คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหนี้. กรุงเทพฯ: นิติบรรณาการ.
Eisenhower, D. (1953). Atoms for Peace. Retrieve 25 November 2011. from http://www.euronuclear.org/info/encyclopedia/n/nuclear-power-plant-world- wide.htm
Japan Atomic Energy Commission. (1995, 19 December). The Atomic Energy Basic Law. Retrieve 20 June 2021, from http://www.aec.go.jp/jicst/NC/about/kettei/170605.pdf
International Atomic Energy Agency. (1992, May). The Joint Protocol Relating to the Application of the Vienna Convention and the Paris Convention of 1988.
International Atomic Energy Agency. (2009, 17 April). Act on Compensation for Nuclear Damage. Retrieve 20 June 2021, from https://www.oecd-nea.org/law/legislation/japan-docs/Japan-Nuclear-Damage-Compensation-Act.pdf
Otto von Busekist. (1989). “A Bridge Between Two Conventions on Civil Liability for Nuclear Damage: the Joint Protocol Relating to the Application of the Vienna Convention and the Paris Convention” Nuclear Law Bulletin, 43, 10.
Reyners, P. (1960). General principles governing liability for nuclear damage and international conventions. OECD Nuclearenergyagency, 8(1), 13 – 26
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.