คุณธรรมของผู้นำ(CEO) ในอรรถกถำมหำกปิชำดก
คำสำคัญ:
คุณธรรม, ผู้นำ, อรรถกถาชาดกบทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งศึกษาอรรถกถามหากปิชาดกในฐานะเป็นชาดกร่วมสมัยที่แสดง แบบอย่างคุณธรรมสำคัญของ “ผู้นำ” หรือ “CEO” คือ “สัปปุริสธรรม 7” ได้แก่ “ธัมมัญญุตำ” การรู้หลักหรือเหตุ “อัตถัญญุตำ” การรู้ความมุ่งหมายหรือรู้จักเหตุผล “อัตตัญญุตำ” การรู้จักตน “มัตตัญญุตำ” การรู้จักประมาณ “กำลัญญุตำ” การรู้จักกาล “ปริสัญญุตำ” การรู้จักชุมชน และ “ปุคคลัญญุตำ” การรู้จักบุคคล “สัปปุริสธรรม 7” เป็นคุณธรรมสำคัญที่แสดงภาวะผู้นำ การวิเคราะห์และตีความอรรถกถำมหำกปิชำดก จึงแสดงให้เห็นว่า ชาดกกลายเป็น “สื่อร่วมสมัย” ที่ผู้อ่านสามารถน้อมนำแบบอย่าง ความเป็นผู้นำของพระโพธิสัตว์มาประยุกต์ใช้ในสังคมปัจจุบัน
References
ก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์. (2553). CEO โลกตะวันออก ฉบับเข้มข้น. กรุงเทพฯ : บุ๊คสไมล์.
จันทนี เจริญศรี. (2544). โพสต์โมเดิร์นกับสังคมวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : วิภาษา.
ปาร์คส, ซี.ดี. (2552). ห้องเรียนผู้นำของฮาร์วาร์ด. แปลโดย ปัญญลักษณ์ อุดมเลิศ ประเสริฐ และประสิทธิ์ชัย วีระยุทธวิไล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิล.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2550). ภาวะผู้นำ. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (ชำระ-เพิ่มเติมช่วงที่ 1). (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
แฟรร์, เปาโล. (2552). ครูในฐานะผู้ทำงานวัฒนธรรม. แปลโดย สดใส ขันติวรพงษ์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สวนเงินมีมา.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2543). อรรถกถามหากปิชาดก. ใน พระสูตรและอรรถกถา แปลขุททกนิกาย ชาดก เล่มที่ 3 ภาคที่ 5. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย. (มหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ พิมพ์เนื่องในวโรกาสครบ 200 ปี แห่งพระราชวงศ์จักรี กรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศักราช 2525).
วิรุณ ตั้งเจริญ. (2552). กระบวนการเรียนรู้ ภาวะผู้นำ และพุทธธรรม. ใน วิสัยทัศน์ศิลปวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : ศูนย์สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สม สุจีรา. (2554). ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น. (พิมพ์ครั้งที่ 80). กรุงเทพฯ : อมรินทร์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.