สมรรถนะวิชาชีพครูเพื่อรองรับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

Main Article Content

พฤฑฒิพล พฤฑฒิกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะวิชาชีพครูเพื่อรองรับการก้าวสู่ประชาคม
อาเซียนของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร วิธีการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย
เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และวิธีการ
สัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะหลัก แบ่งออกเป็น 8 สมรรถนะ ได้แก่ 1) สมรรถนะใน
การแสวงหาวิธีการฝึกฝนตนเองเพื่อก้าวสู่ความสำเร็จ 2) สมรรถนะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
3) สมรรถนะในการครองตนที่ดี 4) สมรรถนะในการใช้จิตสาธารณะสร้างประโยชน์ 5) สมรรถนะ
ในการปรับตัวสู่บริบทของท้องถิ่นและสังคม 6) สมรรถนะในการสื่อสารและประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
7) สมรรถนะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น และ 8) สมรรถนะในการธำรงรักษาความเป็นไทย และ
สมรรถนะเฉพาะสายงาน แบ่งออกเป็น 11 สมรรถนะ ได้แก่ 1) ด้านภาษาและวัฒนธรรม 2) ด้าน
หลักสูตร 3) ด้านปรัชญาการศึกษา 4) ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 5) ด้านจิตวิทยาสำหรับครู
6) ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 7) ด้านการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน 8) ด้านการ
ประกันคุณภาพการศึกษา 9) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 10) ด้านความ
เป็นครู 11) ด้านคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ

Article Details

How to Cite
พฤฑฒิพล พฤฑฒิกุล. (2022). สมรรถนะวิชาชีพครูเพื่อรองรับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. วารสารครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, 1(1), 44–57. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/EJFE/article/view/799
บท
Research article
Author Biography

พฤฑฒิพล พฤฑฒิกุล, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

รองคณบดี ปร.ด. (บริหารการศึกษา)

References

กัญญา ลีลาสัย. (2551). ประวัติศาสตร์ชนชาติไท. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สถาบันวิถีทรรศน์.

กิดานันท์ มลิทอง. (2541). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค. (2546). การพัฒนาความสามารถเชิงสมรรถนะ. กรุงเทพฯ : บริษัทโกบัลคอนเซิร์น จำกัด.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). ผลการดำเนินงานขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาปีงบประมาณ 2550. กรุงเทพฯ : ศูนย์ประสานงานกลางการดาเนินงานโครงการอันเนื่องจากพระราชดำริ. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

ดำรง ฐานดี. (2551). รัฐกับการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชนิตตา รักษ์พลเมือง. (2548). สภาวะการขาดแคลนครูในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. รายงานสรุปสภาวะการขาดแคลนครูในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ : บริษัทแดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปปอเรชั่น.

ชำนาญ เหล่ารักผล. (2556). ความหมายและอุดมการณ์ของครู. (เข้าถึงเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ.2557 http://swis.act.ac.th/html_edu/cgi-in/act/main_php/print_informed.php?idcount_inform=1397).

ธำรง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตร การออกแบบและพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

บรรจง จันทรสา. (2522). ปรัชญาการศึกษา. กรุงเทพ : ไทยวัฒนาพานิช.

ประยุทธ์ ปยุตโต. (2539). การวิเคราะห์เชิงปรัชญาเรื่อง: ปรัชญาการศึกษาในทัศนะของพระธรรมปิฏก. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตร์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณ์ราช วิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

ปรียานุช สถาวรมณี. (2548). การพัฒนากิจกรรมในหลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ของนักเรียน. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นิติธร ปิลวาสน์. (2556). การประกันคุณภาพการศึกษา. (Quality Assurance in Education). สืบค้นวันที่ 9 มิถุนายน 2557 จาก http://taamkru.com/th.

พงษ์ศักดิ์ ศรีจันทร์. (2554). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 (จังหวัดเลย). วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. ปีที่ 8 ฉบับที่ : 26.

พิสณุ ฟองศรี. (2554). การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์.

ยนต์ ชุ่มจิตร. (2553). ความเป็นครู. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

ราชกิจจานุเบกษา. (2556). ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556. เล่มที่ 130 ตอนพิเศษ 130 ง.

วารสารรัฐประศาสนศาสตร์. (2553). ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2553. คณะรัฐประศาสนศาสตร์. สถาบัณบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

วิจิตร์พร หล่อสุวรรณกุล. (2544). การพัฒนาหลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณในกระบวนการพยาบาล. ปริญญานิพนธ์กศ.ด. (การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร).กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิเศษ ชิณวงศ์. (2550). “กระบวนทัศน์ใหม่ของการผลิตครู” วารสารวิชาการ. ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม กันยายน.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2541) แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

สิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา. (2555). โมดุล 8 การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. เอกสารประกอบการบรรยาย. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศักดิ์รพี วดีศิริศักดิ์. (2556). ศูนย์ข่าวการศึกษาไทย EDUZONES NEWS NETWORK เสนอฟื้นโครงการครูมืออาชีพ ยกระดับ-แก้ปัญหาครูล้น. (ออนไลน์). แหล่งที่มาhttp://www.enn.co.th/7846.

ศูนย์นวัตกรรมนโยบาย. (2545). อนาคตภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้: กระบวนทัศน์และยุทธศาสตร์เพื่อการเปลี่ยนแปลงจากฐานราก. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2547). Competency Dictionary. กรุงเทพฯ : เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

Collins co build Dictionary English Language. (1987). University of Michigan.

Colville-Hall, S, (2004). Responsible classroom management: Building a democraticlearning community. Retrieved September 12,2006, fromhttp://www3.uakron.edu/education/safeschools/CLASS/class.html.

Delbecq, A. L., Van de Ven, A. H., & Gustafson, D. H. (1975). Group techniques for program planning. Glenview, IL: Scott, Foresman, and Co.

Gerorg. J. (1996). Management Changers; Labor Teamwork; Work Studies; Regions; Organization structure. Department of Industrial Relations, Graduate School of Business, University College Dublin, Ireland.

Jacobs, J. M. (1996). “Essential assessment criteria for physical education teacher education programs: A Delphi study” Unpublished doctoral dissertation. West Virginia University, Morgantown.

Linstone, H. A., & Turoff, M. eds. (1975). The Delphi Method: Techniques & Applications. Reading, MA: Addison-Wesley.