การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกรูปแบบนั้น จุดมุ่งหมายที่สำคัญก็เพื่อที่จะพัฒนาศักยภาพ
ของผู้เรียน เป็นการพัฒนาขีดความสามารถหรือการพัฒนาตนเองของผู้เรียน ในทางการจัดการศึกษา
ตามอัธยาศัย ผู้เรียนในการศึกษาตามอัธยาศัยจะเป็นกลุ่มคนที่มีความหลากหลาย ตามแต่ละช่วงวัย ซึ่ง
การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน จะทำให้มีผลทั้งต่อตนเอง บุคคลอื่นและสังคมได้ในทางใดทางหนึ่ง ใน
การพัฒนาศักยภาพทุกด้านในตนเอง ผู้เรียนต้องสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเองคิดและแก้ไขปัญหา
ได้ด้วยตนเอง พร้อมที่จะเป็นผู้เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตอย่าง
มีความสุข โดยมีแนวทางการจัดการศึกษาที่สอดคล้องและปรับเปลี่ยนให้ตรงตามความต้องการ บริบท
สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครองและวิถีการดำเนินชีวิตของผู้ที่ศึกษา
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0
References
การศึกษานอกโรงเรียน, กรม. (2538). การศึกษาตามอัธยาศัย. กรุงเทพฯ : กรมการศึกษานอกโรงเรียนกระทรวงศึกษาธิการ.
คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, สำนักงาน. (2549). รวมกฎหมายกฎระเบียบการบริหารงานบุคคลด้านกฎหมายของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ.
จตุรวิทย์ พิมพ์ทอง. (2546). การให้บริการการศึกษาตาม อัธยาศัยด้วยภาพโปสเตอร์ แผ่นพับ และนิตยสารด้านสุขภาพในสถานพยาบาลมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.
ชนกนารถ บุญวัฒนะกุล. (2557). “การพัฒนาศักยภาพผู้เรียนทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสู่การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21”.วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. 7(2); ก.ค.–ธ.ค.
ทิศนา แขมมณี. (2555). บัณฑิตศึกษาในศตวรรษที่ 21: การปรับหลักสูตรการสอน. (เอกสารอัดสำเนา).
พัฒนา ปู่วัง. (2549). การจัดการศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ตามการรับรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ราชกิจจานุเบกษา. (2551). “พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551” เล่มที่ 125 ฃตอนที่ 41 ก. หน้า 3-4. 3 มีนาคม.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และคณะ. (2554). แปล ; James Bellanca, Ron Brandt บรรณาธิการ. ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลด์ส.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2556). “ภาคผนวก ง : ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21” นโยบายสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557. เอกสารสำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6/2556 : 76-78. กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สมหวัง เจียสินเจริญ. (2549). การพัฒนาการเรียนรู้วิชางานบำรุงรักษารถยนต์สำหรับห้องเรียนแบบศูนย์การเรียนหลักสูตรวิทยาลัยชุมชนตามแนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย.วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาอุตสาหกรรมการศึกษา กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Kay, K. (2010). 21st century skills: Why they matter, what they are, and how we get there. In Bellanca, J., & Brandt, R. (Eds.), 21st century skills: Rethinking how students learn. Bloomington, IN: Solution Tree Press.