สภาพและแนวทางพัฒนาการบริหารโรงเรียนดีประจำตำบลสู่ความเป็นเลิศ ของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนสวาง อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

นงคราญ คำลอย
เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและแนวทางพัฒนาการบริหารโรงเรียนดีประจำตำบลสู่ความเป็นเลิศ ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร และครูของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนสวาง อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น 0.94 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย 1) สภาพการบริหารโรงเรียนดีประจำตำบลสู่ความเป็นเลิศ โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก (μ=3.98) 2) ได้แนวทางพัฒนาการบริหารโรงเรียนดีประจำตำบลสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนสวาง อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี ทั้ง 7 ด้าน จำนวน 42 ประเด็น

Article Details

How to Cite
นงคราญ คำลอย, & เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม. (2022). สภาพและแนวทางพัฒนาการบริหารโรงเรียนดีประจำตำบลสู่ความเป็นเลิศ ของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนสวาง อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, 6(12), 35–48. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/EJFE/article/view/956
บท
Research article

References

กาญจนา ศิริวงค์. (2552). การบริหารเชิงกลยุทธ์ในโรงเรียนเถินวิทยา อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง.การค้นคว้าแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

จิรนันท์ วงศ์สุวรรณ. (2558). แนวทางการบริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในกลุ่มสุระนารายณ์ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เจตนา เมืองมูล. (2551). รูปแบบการบริหารสู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย.

ชุตินันท์ พกานวน. (2556). แนวทางการดำเนินงานพัฒนาคุณธรรมและสร้างจิตสำนึก ความเป็นไทยของโรงเรียนแม่ข่ายคุณธรรมชั้นนำในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ธวัชชัย บำรุงยศ. (2550). การจัดทำแผนกลยุทธ์ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาสบเมยวิทยาคม จังหวัดแม่ฮ่องสอน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

บุญชม ศรีสะอาด. (2543). การวิจัยทางการวัดผลและประเมินผล. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

ปัญญา เทียบสูงเนิน. (2552). ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการจัดการสารสนเทศทาง การศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 4. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น.

พฤฑฒิพล พฤฑฒิกุล และภารดี อนันต์นาวี. (2557). หลักการแนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). ชลบุรี : มนตรี.

มนวิภา พวงลำเจียก. (2556). สภาพการบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศในปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

มนัส บุญชม. (2555). การพัฒนาระบบบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควบคู่วิชาสามัญ. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

แววเนตร์ พิพัฒน์ประดิษฐ. (2548). รูปแบบการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาตามแนวมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 2.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2553). บัญชีรายชื่อโรงเรียนดีประจำตำบล ปี 2553-2557. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

สกุลนา ใจภูมิภักดิ์. (2557). แนวทางการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

สุพัตรา เทศเสนาะ. (2552). การนำเสนอแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐานตามแนวประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในอำเภอเก้าเลี้ยว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

สุพิศ สูตรเลข. (2556). การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำธรรมนูญในโรงเรียนของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน. การค้นคว้าแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อนงค์ พืชสิงห์. (2553). การพัฒนาระบบการบริหารที่มุ่งประสิทธิผลในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์.มหาสารคาม. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.