Development of Mathematics Learning Achievement in Statistics Using Student-Generated Exam Questions and TAI Technique for Grade 8 Students

Main Article Content

Thitirat Kulalar
ปวีณา ขันธ์ศิลา
ประภาพร หนองหารพิทักษ์

Abstract

This research aims to: 1) compare the mathematics learning achievement of Grade 8 students before and after the learning management 2) develop mathematics learning achievement in statistics using student-generated exam questions and TAI technique for Grade 8 students, compared to the 70% criterion; and 3) study the students' satisfaction after the learning management.  The target group for this research consists of 12 Grade 8 students from KhokNadee School, NaKhu District, Kalasin Province, in the first semester of the 2023 academic year, selected through purposive sampling. The research instruments include a learning management plan using student-generated exam questions and TAI technique, a multiple-choice mathematics achievement test with four options, and a satisfaction questionnaire. The statistical methods used for data analysis are mean, percentage, standard deviation, and t-test. The research findings are as follows: 1) Students' post-learning achievement was significantly higher than their pre-learning achievement at the .05 level of significance. 2) Students' mathematics learning achievement in statistics after the learning management exceeded the 70% criterion, with statistical significance at the .05 level. 3) Students' satisfaction with learning management was at the highest level, with a mean score of 4.83 and a standard deviation of 0.40.

Article Details

How to Cite
Kulalar, T., ขันธ์ศิลา ป., & หนองหารพิทักษ์ ป. (2024). Development of Mathematics Learning Achievement in Statistics Using Student-Generated Exam Questions and TAI Technique for Grade 8 Students . EDUCATION JOURNAL FACULTY OF EDUCATION KAMPHAENGPHET RAJABHAT UNIVERSITY, 8(15), 42–53. retrieved from https://so08.tci-thaijo.org/index.php/EJFE/article/view/2737
Section
Research article

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กิติศักดิ์ คำเมฆ. (2560). การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TAI ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร. มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

จิตาพัชญ์ ไชยสิทธิ์. (2558). Active Learning: การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ. นครสวรรค์: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์.

ชนิศรา เอริยะเดชช์. (2561). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคTAI ในสาระคณิตศาสตร์ เรื่องการบวก ลบ คูณ เป็นเลขทศนิยม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, วิทยาเขตร้อยเอ็ด.

ณัฐวุฒิ บุตตะวงษ์. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือโดยใช้เทคนิค TAI เรื่องสถิติและความน่าจะเป็นเบื้องต้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. การศึกษาค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ทิพฆนฑา เงินยวง. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI. กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก), มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ธเรศ คำหิราช และชนกกานต์ สหัสทัศน์. (2561). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องอัตราส่วนและร้อยละ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI. วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา, มหาวิลัยอุบลราชธานี.

ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์. (2561). พื้นฐานการศึกษา. กรุงเทพฯ: มีนเซอร์วิส ซัพพลาย.

ปิยะนุช ดรปัดสา. (2564). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI เรื่อง เส้นขนาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2.วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศุภกิตติ ช่อไสว. (2565). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับการใช้สื่อมัลติมีเดีย. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สายธาร กุศลศิริ. (2564). การพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการบวก การลบ เศษส่วนโดยใช้เทคนิค TAI สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านขุนแม่ลา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น สำนักทดสอบทางการศึกษา. (2563). [Online] Available : https://boet.obec.go.th/

อนุชาติ ชาติรัมย์. (2564). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะเรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัสและความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยเทคนิคการสอน TAI. โรงเรียนซับนกแก้ว วิทยา.