Development of Learning Activity Sets of Geography of Department of Social Studies Religion and Culture of Students in Grade 6 using the Inquiry-based Learning Model (5E)

Main Article Content

Wacharin Korngsook

Abstract

The purposes of this research were: 1)  to develop learning activity sets of Geography for  Social  Studies,  Religions  and  Cultures  of students in Grade 6 by using the inquiry-based learning management model to be effective in accordance with the 80/80 criteria, 2) to compare learning outcomes of pre-test and post-test, 3) to find the effectiveness index of learning activity sets, and 4) to investigate student’s satisfaction toward the learning activity sets. Population are 144 students in Grade 6 of Watkrathumsuepla School Prawet District Office Bangkok. based on simple random sampling using classrooms as the sampling unit, The sample group consisted of 36 students in Grade 6/1. obtained a simple random sampling from classrooms as the sampling unit. The research instruments were:  1) Learning activity sets, 2) Manual for using the learning activity sets, 3) A test to measure academic achievement before and after studying. and 4) Satisfaction questionnaire data collection. Data collection will be conducted in the second semester of the 2023 academic year Data analysis was done to 1) identity there of efficiency process (E1) and determine the efficiency value of the result.  2) compare average academic achievement before and after studying by using dependent sample t-test 3) analyze the effectiveness index of learning activity sets and 4) analyze student’s satisfaction by using mean and standard deviation. The result presented that: 1) learning activity sets were had efficiency of 88.02/86.11 2) learning outcomes of students after using  the developed  learning activity sets higher than before at a significance of level of .05 3) the effectiveness index of learning activity sets was 0.80 and 4) the overall level to student’s satisfaction toward Learning activity sets were at a high level.


 

Article Details

How to Cite
Korngsook, W. (2024). Development of Learning Activity Sets of Geography of Department of Social Studies Religion and Culture of Students in Grade 6 using the Inquiry-based Learning Model (5E). Journal of Education Yala Rajabhat University, 3(1), 37–51. Retrieved from https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jeduyru/article/view/3053
Section
Research Article

References

กมล โพธิเย็น. (2564). Active Learning: การจัดการเรียนรู้ที่ตอบโจทย์การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 19(1), 11-28.

กันตินันท์ ถนอมวงษ์. (2565). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมทักษะคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

กุลธิดา ขันทอง. (2563). การใช้ QR Code จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E เรื่อง รู้เท่าทันสังคมออนไลน์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารคุรุสภาวิทยาจารย์, 1(3), 44-53.

เกียรติศักดิ์ วงษ์เลี้ยง. (2565). การพัฒนาทักษะการคิดทางประวัติศาสตร์เพื่อการรู้เท่าทันสังคมผ่านชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยใช้พิพิธภัณฑ์เป็นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ไกรศร สิงห์ไฝแกว. (2560). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องสารรอบตัวโดยวิธีการสอนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

เขมณัฏฐ์ มิ่งศิริธรรม. (2559). การออกแบบสื่อการศึกษาสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จันทร์เพ็ญ ปัญญโรจน์. (2563). รายงานผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดภูมิภาคในประเทศไทยกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 10(2), 137-150.

จิณห์จุฑา ศิริเวชบุรี. (2562). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนโดยประยุกต์กระบวนการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารบัณฑิตศึกษา, 16(72), 136-146.

ชรินทร์ มั่งคั่ง. (2565). ปัญญาการสอนสังคมศึกษา. เชียงใหม่: ลานนาการพิมพ์.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2558). แปดสิบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 6. นนทบุรี: พีบาลานซ์ดีไซน์แอนด์ปริ๊นติ้ง.

ณัฐกมล วัชรวงษ์ทวี. (2556). การพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่องภูมิศาสตร์ทวีปยุโรป สาระภูมิศาสตร์กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรธชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ทิศนา แขมมณี. (2556). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนัตฤนันท์ เจะนุ่ม. (2566). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับเกมกระดานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ธัญลดา เทพวารินทร์. (2564). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องหนูน้อยนักเศรษฐศาสตร์ วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(10), 262-270.

นพรัตน์ มาเขียว. (2563). การศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารอักษรพิบูล, 1(2), 73-88.

นิติยา ทรงมงคลรัตน์. (2564). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาตามแนวอริยสัจ 4 (Think Pair Share) วิชาสังคมศึกษาพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยวิทยาเขตร้อยเอ็ด, 10(2), 13-21.

บริบูรณ์ ชอบทำดี. (2559). การพัฒนาสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ปรัชญา ซื่อสัตย์. (2563). การพัฒนาชุดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับโครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรและผลงานสร้างสรรค์หุ่นกระบอกสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปุณณดา แจ้งพลอย. (2564). การพัฒนาชุดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

พจีพร ศรีแก้ว. (2560). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับเกมเพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

มณฑกานต์ ยืนนาน. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับเทคนิคผังกราฟฟิก เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกายที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

มณฑา ชุ่มสุคนธ์. (2564). การจัดการภูมิศาสตร์ในโรงเรียน. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

โรงเรียนวัดกระทุ่มเสือปลา. (2565). รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self Assessment Report (SAR) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565. กรุงเทพมหานคร: โรงเรียนวัดกระทุ่มเสือปลา.

วรรณิภา พรหมาราช. (2564). การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ห้าขั้นร่วมกับบอร์ดเกม เรื่อง พันธะเคมี เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.

ศศิกานต์ หลวงนุช. (2564). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยการจัดการเรียนรู้ GPAS 5 Steps ร่วมกับแหล่งเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศาสดา ทักษิณ. (2564). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น ร่วมกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.

ศิริภัชรพร ใบยา. (2558). ชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ตามวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง สารอาหารในชีวิตประจำวันสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สมชัย ไขแสงจันทร์. (2564). การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านจับใจความกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนการกุศลวัดบูรพา จังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

สรัญญพัชร์ แก้วศรีไตร. (2563). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารเรื่องคำและหน้าที่ของคำ โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและวิธีสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. ค้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2566. จาก : https://www.bic.moe.go.th/images/stories/5Porobor._2542pdf.pdf

สำนักงานยุทธศาสตร์การศึกษา กรุงเทพมหานคร. (2563). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2564- 2569). กรุงเทพมหานคร: สำนักการศึกษา

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติฉบับข้าราชการ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

อภิญญา บุญหล้า. (2565). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เกมคำศัพท์ภาษาอังกฤษแบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค TGT เพื่อส่งเสริมการรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษและการทำงานเป็นทีม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Omotayo, S. A. & Adeleke, J.O., (2017). The 5E Instructional Model: A Constructivist Approach for Enhancing Students' Learning Outcomes in Mathematics, Journal of the International Society for Teacher Education, 21(2), 15-26.