การสร้างสรรค์นาฏศิลป์ไทยเชิงอนุรักษ์ ชุดฉุยฉายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
คำสำคัญ:
รำฉุยฉาย, นาฏศิลป์ไทยเชิงอนุรักษ์, มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์บทคัดย่อ
การรำฉุยฉายเป็นศิลปะการรำประเภท “อวดฝีมือ” ซึ่งเป็นการร่ายรำรูปแบบหนึ่งของการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่มีลีลาหลายลักษณะที่งดงาม ชี้ให้เห็นถึงความสามารถของผู้แสดง ผู้ประพันธ์ บทขับร้อง การบรรเลงดนตรีและการแต่งกายที่สวยงาม การรำฉุยฉายใช้สำหรับชมความงาม หรืออวดโฉมของตัวละคร การสร้างสรรค์นาฏศิลป์ไทยเชิงอนุรักษ์ชุดฉุยฉายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เป็นการรำฉุยฉายที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ โดยมีการออกแบบท่ารำ เพลง และเนื้อร้อง ที่แสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ในรูปแบบของการรำฉุยฉายที่กล่าวถึงความโดดเด่นเชี่ยวชาญในด้านวิชาการการเป็นคนดีมีคุณธรรม จิตใจโอบอ้อมอารี มีความอ่อนน้อม จิตใจมุ่งมั่น นำวิชาความรู้เพื่อไปพัฒนาท้องถิ่น และเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ด้วยความจงรักภักดี บทขับร้องที่ประพันธ์นี้ได้ประพันธ์ขึ้นใหม่อยู่ในกลุ่มกลอนขับร้อง ใช้ทำนองเพลงฉุยฉายและเพลงแม่ศรีขับร้อง ใช้วงดนตรีปี่พาทย์เครื่องห้าบรรเลงประกอบการแสดง ผู้แสดงเป็นตัวนาง ลักษณะการรำจะใช้หลักการรำตีบทในการบรรจุท่ารำ
References
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). กลองทัด. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ฆ้องวงใหญ่. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ฉิ่ง. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ตะโพน. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: กิริยาเพียบพร้อม. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ความเป็นมนุษย์. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: เคารพศักดิ์ศรี. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: จงรักภักดี. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: เจ้างามละม่อม. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ฉุยฉายเอย. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: เฉิดโฉมเอย.[ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ชาวราชภัฏ. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: เชี่ยวชาญทักษะ. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: เชื่อมั่นคุณค่าศรัทธาสิ่งดี. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ดวงมานอ่อนน้อม. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ต่างภูษาภูษิต. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ตามรอย. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: เทิดองค์ภูธร. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: นิรันดร์เอย. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: บาทบงสุ์เอย. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: บารมีปกเกล้า. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ปัญญาพิสุทธิ์. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: เปรมปรีดิ์. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: พัฒนาท้องถิ่น. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: เพื่อประเทศไทย. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: มุ่งมั่นสืบสาน. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: แม่ศรีพระลัญจกร. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: แม่ศรีเอย. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: แม่ศรีเอย แม่ศรีธานินทร์. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ยิ้มแย้มอ่อนหวาน. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ราชภัฏนครสวรรค์. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ราชวงศ์จักรี. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ลือลั่น. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: เลิศสรรพวิชา. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: วิวัฒน์วิไล. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ศิษย์งามสมศักดิ์ศรี. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: สั่งสมสร้างสรรค์. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: โสภิตนำพักตร์. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: ให้ระบิลเกรียงไกร. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเนื้อร้อง: อุดมการณ์ยิ่งใหญ่. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ท่าเพลงขึ้นรัว. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ปี่ใน. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ระนาดทุ้ม. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). ระนาดเอก. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
นงลักษณ์ ปิยะมังคลา. (ผู้ถ่ายภาพ). (2565). วงปี่พาทย์เครื่องห้า. [ภาพถ่าย]. นครสวรรค์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
ไพโรจน์ ทองคำสุก. (2545). วิเคราะห์รูปแบบความเป็นครูสู่กระบวนการถ่ายทอดความรู้ของผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทย ครูเฉลย ศุขะวณิช. กรุงเทพฯ: สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ กรมศิลปากร.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2530). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน 2525 ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 2530. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
โรงเรียนดนตรีจุไรรัตน์. (2560). ฉิ่ง. [ภาพถ่าย]. สืบค้นเมื่อ 27 ตุลาคม 2565, จาก https://churairatmusic.com/th/product/ching-1
เรณู โกศินานนท์. (2544). นาฏศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
วิมลศรี อุปรมัย. (2555). นาฏกรรมและการละคร. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สันติ ณ เชียงใหม่. (2547). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นนาฏศิลป์ล้านนา เรื่อง ฟ้อนจุมสดี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. [ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่].
สุมิตร เทพวงษ์. (2541). นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์สำหรับครูประถมและมัธยม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สุรพล วิรุฬห์รักษ์. (2543). นาฏยศิลป์ปริทรรศน์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรพล วิรุฬห์รักษ์. (2543). วิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยในกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.