เรื่องเล่า ‘หนุ่มนักเรียน’ โรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ. 2467: ผ่านความทรงจำของ พ. เนตรรังษี
คำสำคัญ:
หนุ่มนักเรียน, โรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, งานเขียนของ พ. เนตรรังษี, บันทึกความทรงจำ, ชีวิตในโรงเรียนบทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้มุ่งศึกษาชีวิตของนักเรียนโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ. 2467 การศึกษาใช้ระเบียบวิธีทางประวัติศาสตร์ โดยอาศัยข้อมูลจากหนังสือเรื่องหนุ่มนักเรียน ของพ.เนตรรังษี ที่บอกเล่าเรื่องราวของตัวเขาขณะเป็นนักเรียนมัธยมที่โรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยาเป็นหลักในการศึกษาการศึกษาข้อมูลจากบันทึกส่วนตัว ทำให้ทราบเรื่องราวในชีวิตของนักเรียน ที่เป็นเรื่องในชีวิตประจำวัน เรื่องเล่า กิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียน เรื่องราวระหว่างเพื่อน โดยการศึกษานี้สามารถให้ภาพประวัติศาสตร์สังคมที่มีชีวิตชีวาของการดำเนินชีวิตประจำวันของคนธรรมดาทั่วไป ต่างออกไปจากหลักฐานของทางราชการ ซึ่งมักให้ภาพพัฒนาการของสถาบันการศึกษาที่เน้นบทบาทของผู้ปกครองในฐานะผู้นำในการดำเนินงานและให้ข้อมูลเชิงนโยบาย จนละเลยชีวิตของคนทั่วไปที่โลดแล่นอยู่ในสังคม
References
บุญธรรม อินทร์จันทร์. (2522). การปฏิรูปมัธยมศึกษาในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พ.ศ. 2435 – 2475 การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์. [วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย].
พ. เนตรรังษี. (2526). หนุ่มนักเรียน. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.
พ. เนตรรังษี. (2538). คนขายหมึก. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
พ. เนตรรังษี. (2547). เด็กบ้านสวน. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.
ยอดกมล อุดหนุน และปิ่นวดี ศรีสุพรรณ. (2561, มกราคม - มิถุนายน). ความเชื่อและปฏิบัติการบนพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 6(1), 65 - 78.
รติพร ทิพยะวัฒน์. (2556). บันทึกความทรงจำของขุนนางชาวเยอรมันผู้ถูกขับไล่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง: การสร้างภาพแทนและอัตลักษณ์. [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์].
วารุณี โอสถารมย์. (2524). การศึกษาในสังคมไทย พ.ศ. 2411 – 2475. [วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย].
วุฒิชัย มูลศิลป์. (2516). การปฏิรูปการศึกษาในรัชกาลที่ 5. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.
สงวน เลิศโชคชัย. (2538). ความสำคัญของโรงเรียนแบบปับลิคสคูลต่อการศึกษาไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2453 - 2468). [ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ].
สิทธิ รัตนราษี. (2540). การศึกษากีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย].
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กองกลาง ศธ.50.3/3 เรื่องมอบที่บ้านสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงษ์ ให้ทำเป็นโรงเรียน (30 กันยายน – 19 ตุลาคม 2439).
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการกองกลาง ศธ.50.3/5 เรื่องเปิดโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยาเป็นโรงเรียนประจำ (2 เมษายน – 18 มีนาคม 2458).
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการกองกลาง ศธ.50.3/9 เรื่องโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จฯ ขอตั้งชั้นมัธยมตอนปลายปีที่ 7 (2 พฤษภาคม 2459).
อนุสรณ์งานฌาปนกิจคุณพัฒน์ เนตรรังษี ณ วัดประยุรวงศาวาส วันพฤหัสบดีที่ 15 มกราคม 2519.
อภิญญา นนท์นาท. (2559). เรื่องเล่าจาก “เด็กบ้านสวน-หนุ่มนักเรียน” ของ พ.เนตรรังษี. สืบค้น 22 มกราคม 2565, จาก https://lek-prapai.org/home/view.php?id=1023
อาวุธ ธีระเอก. (2557). การจัดการศึกษาภาษาอังกฤษของรัฐสยามในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. [วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย].
Prins, G. (2001). ‘Oral History’ in Peter Burke (ed.). New Perspectives on Historical Writing. (2nd ed). Cambridge: Polity Press.
Thompson, P. (2000). Voice of the Past: Oral History. (3nd ed). New York: Oxford.
Wyatt, D. K. (1969). The Politics of Reform in Thailand. New Haven and London: Yale University Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.