“เพิ่ง”: การศึกษากระบวนการกลายเป็นคำไวยากรณ์ในสมัยรัตนโกสินทร์
คำสำคัญ:
กระบวนการกลายเป็นคำไวยากรณ์, เพิ่ง, ไวยากรณ์ไทยบทคัดย่อ
การศึกษากระบวนการกลายเป็นคำไวยากรณ์ ของคำว่า “เพิ่ง” ในสมัยรัตนโกสินทร์ มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อจำแนกหมวดคำของคำว่า “เพิ่ง” ผลการวิจัยพบว่าคำว่า “เพิ่ง” ปรากฏในหมวดคำช่วยหน้ากริยาใน 2 ลักษณะ ได้แก่ การปรากฏในตำแหน่งหน้ากริยา และการปรากฏร่วมกับคำช่วยหน้ากริยา “จะ” ในส่วนหมวดคำและความหมายของคำว่า “เพิ่ง” มีการเปลี่ยนแปลงทางความหมายบางประการในสมัยรัตนโกสินทร์ โดยมีความหมายเกี่ยวกับการที่เหตุการณ์เกิดขึ้นได้ไม่นาน กระบวนการกลายเป็นคำไวยากรณ์ของคำว่า “เพิ่ง” มีกลไกการเปลี่ยนแปลงความหมาย คือ การดูดซับความหมายปริบท ได้แก่ คำว่า “เพิ่ง” ดูความหมายของคำว่า “จะ” จึงอาจพัฒนาไปเป็นคำที่สามารถบอกการณ์ลักษณะ ในส่วนกลไกการเปลี่ยนแปลงด้านหน้าที่ทางไวยากรณ์ ยังมิได้มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ทางไวยากรณ์อย่างชัดเจนเนื่องจากยังมีการผลิตลักษณะการใช้ทั้งในหมวดคำหลักและคำไวยากรณ์ ซึ่งเป็นแสดงให้เห็นเส้นทางการกลายเป็นคำไวยากรณ์ของคำว่า “เพิ่ง” ในอนาคต
References
กรมพระราชวังหลัง. (2417). ไซ่ฮั่นตั้งฮั่น. กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2444). พจนานุกรม ร.ศ. 120 ฉบับกรมศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : กรม.
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2354). จดหมายเหตุรัชกาลที่ 2 จ.ศ. 1173. พระนคร : โรงพิมพ์ครุสภาพระสุเมรุ.
จรัสดาว อินทรทัศน์. (2539). กระบวนการที่คำกริยากลายเป็นคำบุพบทในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2541). ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพ 1984.
จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2504). พจนานุกรมไทย. พระนคร : เอกศิลป์การพิมพ์.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2536). พระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน เล่ม 1. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง.
พระคลัง (หน), เจ้าพระยา. (2471). สามก๊ก ฉบับที่ 7. กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร. พระราชพงศาวดาร. (1381). ค้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2561 จาก http://www.thapra.lib.su.ac.th/resource/web/ressult.php?search=พระราชพงศาวดาร
ไพทยา มีสัตย์. (2540). การศึกษาคำช่วยหน้ากริยาที่กลายมาจากคำกริยาในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะอักษรศาสตร์ ภาควิชาภาษาศาสตร์. (2560). ฐานข้อมูลโปรแกรมเพื่อสืบค้นคำจากบทความทั่วไป (CU-Thai Concordance Online). ค้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2560. จาก http://www.arts.chula.ac.th/~ling/ThaiConc/
มิ่งมิตร ศรีประสิทธิ์. (2546). การศึกษาเชิงประวัติของคำว่า แล้ว อยู่ อยู่แล้ว. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2493). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์รุ่งเรื่องธรรม.
ราชบัณฑิตยสถาน.(2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
รุ่งอรุณ ทีฆชุนหเถียร. (2545). อนิยมสรรพนามและปฤจฉาสรรพนาม: การศึกษาเชิงประวัติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิจินตน์ ภาณุพงศ์. (2532). โครงสร้างของภาษาไทย: ระบบไวยากรณ์. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิลาศปริวัตร, หลวง. (2458). ความไม่พยาบาท. กรุงเทพฯ : ดับเบิ้ลนายน์.
วิศาลดรุณกร (อั้น สาริกบุตร), หลวง. (2466). คัมภีร์โหราศาสตร์ไทยมาตรฐานฉบับสมบูรณ์. พระนคร : ศิลปสาส์น.
สุรีเนตร จรัสจรุงเกียรติ. (2551). “ยัง”: การศึกษาเชิงประวัติ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสฐียรโกเศศ. (2547). รสวรรณคดี. กรุงเทพฯ : ศยาม.
อุดมสมบัติ, หลวง. (2530). จดหมายหลวงอุดมสมบัติ. นครหลวงฯ : กรมศิลปากร.
Hopper, P.J., & E.C., Traugott. (2003). Grammaticalization. Cambridge :Cambridge University Press.
Kurylowicz, J. (1965). The Evolution of Grammatica Categories. Diogeness. 57, 55-71.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2019 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.