การตัดสินบน: สัญลักษณ์ในพิธีกรรมแก้บนด้วยหนังตะลุงเมืองเพชร
คำสำคัญ:
หนังตะลุงเมืองเพชร, การตัดสินบน, พิธีกรรมแก้บน, สินบนบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการตัดสินบนในพิธีกรรมแก้บนด้วยหนังตะลุงเมืองเพชร โดยใช้ข้อมูลจากตัวบทวรรณกรรมและบริบทในพิธีกรรมแก้บน ผลการวิจัยพบว่า การตัดสินบนมี 2 วิธี ประกอบด้วย 1) การตัดสินบนในตัวบทวรรณกรรม มีขั้นตอนโดยเริ่มจากบทร้องเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์เจ้าของสินบน การยิงลูกศรตัดสินบน การลบสินบนออกจากบัญชี การนำสินบนไปทิ้งน้ำ และการนำสินบนเป็นอาหารของสัตว์น้ำ และ 2) การตัดสินบนนอกตัวบทวรรณกรรม มีขั้นตอนดังนี้ ผู้บนจะใช้วิธีฉีกใบไม้/หญ้า/เชือก/กระดาษ ให้แยกขาดออกจากกัน และใช้มีดกรีดเครื่องเซ่น เช่น หัวหมูหรือไก่ต้ม ส่วนคนเชิดจะตัดสินบนโดยใช้มีดเฉือนหยวกกล้วย 3 ครั้งหลังจากจบการแสดง ส่วนสัญลักษณ์ของการตัดสินบนทั้งทางวรรณกรรมและทางพฤติกรรมล้วนเป็นการสื่อความหมายเชิงรูปธรรมถึงการตัดสินบนว่า สินบนนั้นได้ขาดลงอย่างเด็ดขาดแล้วตามเจตนารมณ์ของผู้บนสิ่งศักดิ์สิทธิ์จะรับรู้และไม่ทวงถามสินบนอีก สัญลักษณ์ดังกล่าวเป็นการเน้นย้ำเพื่อทำให้ผู้บนเกิดความมั่นใจและสบายใจ
References
คณะ ก.กล้วยบรรเลงศิลป์. (2559). เกตุทอง. 4 ธันวาคม 2559 ณ หนองแก อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี.
คณะ ช.รุ่งเรือง. (2560). รามเกียรติ์ ตอน ท้าวมาลีวราชว่าความ. 13 มกราคม 2560. ณ บ้านหาด อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
คณะ พ.นิยมศิลป์. (2559). นางปีศาจร้ายฆ่าแม่. 3 เมษายน 2559. ณ วัดขุนตรา อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี.
คณะ ว.รวมศิลป์. (2559). ดวงใจแม่. 14 เมษายน 2559. ณ บ้านละหารน้อย อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เจริญ ตันมหาพราน. (2536, สิงหาคม). พิธีกรรมการฆ่านกหัสดีลิงค์. ว.ตราไปรษณียากร. 24 (1), 40-41.
ฉลวย ปานแก้ว. ชาวบ้านหมู่ 1 บ้านเขาหลวง ตำบลธงชัย อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี. (สัมภาษณ์, 5 พฤศจิกายน 2559).
แช่ม เกิดเกษม. ชาวบ้านหมู่ 5 บ้านพุตูม ตำบลห้วยลึก อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี. (สัมภาษณ์, 18 พฤศจิกายน 2560).
ทรงฤทธิ์ ศรีสารคาม. (2555). หนังตะลุงแก้บนในจังหวัดเพชรบุรี : กรณีศึกษาคณะ ว. รวมศิลป์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2560, มกราคม-เมษายน). แนวคิดมานุษยวิทยากับการศึกษาความเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสังคมไทย. ว.วิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 25 (47), 173-197.
น้าชาติ ประชาชาชื่น. พิธีตัดไม้ข่มนาม. (2551, 24 ตุลาคม). ข่าวสดรายวัน, น.24.
บัญญัติ สุวรรณแว่นทอง. นายหนัง คณะหนังตะลุงน้องเดียว จังหวัดนครศรีธรรมราช. (สัมภาษณ์, 9 ตุลาคม 2560).
บุญเรือน หนูนาค. ชาวบ้านหมู่ 1 บ้านเขาหลวง ตำบลธงชัย อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี. (สัมภาษณ์, 5 พฤศจิกายน 2559).
ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล. (2546). เจ้าแม่ คุณปู่ ช่างซอ ช่างฟ้อน และเรื่องอื่น ๆ ว่าด้วยพิธีกรรมและนาฏกรรม. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
พิทยา บุษรารัตน์. (2553). นาฏกรรมแห่งลุ่มทะเลสาบสงขลา การเปลี่ยนแปลงแลความสัมพันธ์ กับสังคมและวัฒนธรรมของหนังตะลุงและโนราช่วงการปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. (2556). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
ละกวยเทรอว กรวง ขะมาน. (2553). พิธีซางกะมูด. ค้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2560. จาก http://thaisokusuman.blogspot.com.
วลัยลักษณ์ ทรงศิริ. (2544, เมษายน-มิถุนายน). สัญลักษณ์ที่ปรากฏในพิธีกรรมเลี้ยงผี งานปีบ้านเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์. ว.เมืองโบราณ. 27 (2), 93-105.
ศิราพร ณ ถลาง. (2539). เอกสารการสอนชุดวิชา 12304 ความเชื่อและศาสนาในสังคมไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ศิลปะไทย. (2557). พิธีตัดกรรม-ตัดเวร. ค้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2560. จาก http://silpathai.net
เสริ่น สว่างโล่ง. ชาวบ้านหมู่ 5 บ้านพุตูม ตำบลห้วยลึก อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี. (สัมภาษณ์, 18 พฤศจิกายน 2560).
Hemmet, C. (1996). Nang Talung the Shadow Theatre of South Thailand. Amsterdam : Tropenmuseum.
Wren,T. E. (2012). Concepttions of Culture : What Multicultural Educators Need to Know. New York : Rowman and Littlefield.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2019 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.