การละเล่นของเด็ก: วิวัฒนาการของการละเล่นและภาพสะท้อนความผูกพันระหว่างแม่กับลูกในผลงานศิลปะเซรามิก

ผู้แต่ง

  • Yanfei Tang สาขาทัศนศิลป์และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ปิติวรรธน์ สมไทย สาขาทัศนศิลป์และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ภานุ สรวยสุวรรณ สาขาทัศนศิลป์และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คำสำคัญ:

การละเล่นของเด็ก, แม่และลูก, ศิลปะเซรามิก

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องการละเล่นของเด็ก: วิวัฒนาการของการละเล่นและภาพสะท้อนความผูกพันระหว่างแม่กับลูกในผลงานศิลปะเซรามิก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการละเล่นของเด็กสมัยโบราณและในปัจจุบันเปรียบเทียบและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการละเล่นทั้งสองยุคสมัยและนำไปสู่การสร้างสรรค์ชุดผลงานเซรามิกที่สามารถนำเสนอให้เห็นถึงความสนุกสนานในการละเล่นและวิธีการละเล่นของเด็กที่สะท้อนความรักความผูกพันระหว่างแม่กับลูก โดยมีการศึกษาข้อมูลทางเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูลอิทธิพลของปัจจัยทางสังคม การเมือง วัฒนธรรม และเศรษฐกิจที่มีต่อการละเล่นของเด็กสมัยโบราณและปัจจุบัน อีกทั้งการลงพื้นที่ภาคสนามเพื่อสำรวจสภาพแวดล้อมและลักษณะพฤติกรรมการละเล่นของลูกตนเองเพื่อนำจุดเด่นของการละเล่นเด็กในสมัยโบราณที่ต้องได้รับการสืบทอดมาสร้างสรรค์และแสดงออกทางแนวคิดผ่านรูปแบบของศิลปะเซรามิกโดยสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะเซรามิกที่แสดงถึงความผูกพันระหว่างแม่กับลูกจำนวน 4 ชุด ได้แก่ ชุด“ซ่อนแอบ” ชุด “เฒ่าหมาป่า เฒ่าหมาป่า กี่โมงแล้ว” ชุด “ออกไปเล่น” และ ชุด “ขอพร”

References

Cai, F. (2007). Game History. Shanghai Literature and Art Publishing House.

Douban. (2021). Works by Kaley Flowers. Retrieved April 10, 2023. https://www.douban.com/note/802017152/?_i=9534409lSt9PJR,7538542YKyfTCn.

Li, Y. (2015). Research on ancient Chinese children’s clothing [Doctoral dissertation, Suzhou University].

Li, Y. (2006). Research on Children’s Play in Ancient China. [Master’s Thesis, Shaanxi Normal University].

Liaobuqidejiangren. (2018). Works by Sara Swink. Retrieved April 10, 2023. https://mbd.baidu.com/newspage/data/dtlandingsuper?nid=dt_4546026839823881055

Tang, Y. [Photographer]. (2023). The work “Hide and Seek”. [Photo]. Burapha University. [In Thai]

Tang, Y. [Photographer]. (2023). The work “Old Wolf, Old Wolf, what time is it”. [Photo]. Burapha University. [In Thai]

Tang, Y. [Photographer]. (2023). The work “Go out to play”. [Photo]. Burapha University. [In Thai]

Tang, Y. [Photographer]. (2023). The work “Make a wish”. [Photo]. Burapha University. [In Thai]

Wang, W. (2015). The changes in games and their educational implications from the perspective of children’s culture. [Master’s thesis. Shandong Normal University].

Wu, P. (2013). Waiting for Feed: General Theory and Chinese Practice of Children’s Rights. [Doctoral dissertation, Soochow University].

Xu, X. (2021). A study on the effectiveness of parent-child games in promoting children’s healthy development and family integration. University: Social Sciences, (8), 3.

Xu, Z. (2013). A Comparison between Chinese and Western Civilizations. Zhejiang People’s Publishing House.

Yu, X. (2018). Design Application and Research of Visual Elements of Chinese Folk Classical Children’s Games. [Master’s Thesis, Hunan Normal University].

Zhang, Y. & Hao, W. (2011). Indoor Sports Game Tutorial. Guangxi Normal University Press.

Zuitaoci. (2016). Works by Nathalie Choux. Retrieved April 10, 2023. http://mt.sohu.com/20160604/n452937470.shtml

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-02-13