คุณค่าทางจิตวิญญาณของลวดลายหงส์ในวัฒนธรรมฉู่เมืองอู่ฮั่นเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมสร้างสรรค์
คำสำคัญ:
วัฒนธรรมฉู่, ลวดลายหงส์, คุณค่าทางจิตวิญญาณ, ผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมสร้างสรรค์บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิวัฒนาการของลวดลายหงส์ในเครื่องเขินวัฒนธรรมฉู่ผ่านการวิเคราะห์ต้นกำเนิดทางประวัติศาสตร์และรูปแบบศิลปะของวัฒนธรรมฉู่ เพื่อศึกษาความหมายแฝงทางจิตวิญญาณและองค์ประกอบเฉพาะของลวดลายหงส์ที่แฝงอยู่ในวัฒนธรรมฉู่และเพื่อถอดคุณค่าทางศิลปะของลวดลายหงส์ตลอดจนองค์ประกอบทางวัฒนธรรมและความหมายแฝงทางจิตวิญญาณมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมสร้างสรรค์โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงเอกสาร การวิจัยภาคสนาม การวิจัยเชิงสร้างสรรค์จากการวิเคราะห์ลวดลายหงส์ที่ปรากฏในศิลปะเครื่องเขินของวัฒนธรรมฉู่สามารถสรุปรูปทรงของลวดลายหงส์ในศิลปะเครื่องเขินฉู่ได้เป็นรูปทรงเดี่ยวสมบูรณ์และรูปทรงนามธรรม 3 แบบได้แก่ รูปตัว “S” รูปตัว “C” และรูป “ลูกศร” จากการศึกษาสามารถสรุปคุณค่าทางจิตวิญาณของลวดลายหงส์ในวัฒนธรรมฉู่ได้ 3 ประเด็นคือ 1) การสะท้อนถึงชีวิตและดวงอาทิตย์ 2) การสะท้อนถึงการเปิดรับและนิมิตมงคล และ 3) การสะท้อนถึงความจริง ความดี ความงาม ในด้านการออกแบบ ได้นำหลักการจัดองค์ประกอบภาพมาใช้ในการออกแบบลวดลายที่สะท้อนคุณค่าทางจิตวิญญาณของลวดลายหงส์ และนำไปประยุกต์ใช้กับการออกแบบผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมสร้างสรรค์ประเภทของใช้ในบ้านจำนวน 3 ชิ้นได้แก่ โคมไฟตั้งโต๊ะ เชิงเทียน เชิงกำยาน และแจกัน โดยถือเอาวัฒนธรรมเป็นรากฐานของการออกแบบ อัตลักษณ์ทางศิลปะของลวดลายหงส์ในวัฒนธรรมฉู่ถ่ายทอดผ่านรูปทรงและลวดลายของผลิตภัณฑ์ สื่อถึงคุณค่าทางจิตวิญญาณอันเป็นตัวแทนของลวดลายหงส์ได้แก่ ไฟ ดวงอาทิตย์ ชีวิต ความมงคล ความมั่งคั่ง ความสามัคคีและความดีงาม การประยุกต์ลวดลายหงส์ในผลิตภัณฑ์ของใช้ในบ้านถือเป็นการสืบทอดและส่งเสริมวัฒนธรรมฉู่ ทำให้คุณค่าทางจิตวิญญาณของลวดลายหงส์ที่อุปมาถึงคุณค่าอันดีงามส่งต่อไปยังผู้คนในยุคสมัยใหม่ผ่านผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมสร้างสรรค์ ตลอดจนสามารถสะท้อนคุณค่าและความสำคัญของยุคแห่งลวดลายหงส์ในวัฒนธรรมฉู่ได้ดียิ่งขึ้น
References
Chen, W. (2017). A summary of the study on the custom of worshiping Phoenix in Chu state. Journal of Hubei University of Science and Technology, 37(2), 1-5.
Chen, W. (2020). Environmental aesthetics thought in “Yi Zhou Shu”. Journal of Central South University: Social Sciences Edition, 26(4), 8-16.
China cultural relics. (2017). Appreciation of lacquerware unearthed from Mawangdui Han Tomb. Retrieved July 9, 2017. https://m.sohu.com/a/147455216_740892/
Chinese Handicraft. (2017). Hubei Jiangling Mashan Chu Tomb Phoenix and Bird Embroidery Dragon and Tiger Embroidery. Retrieved July 9, 2017. https://www.sohu.com/a/158159741_289194
Hou, M. (2020). Design and innovation of cultural and creative products. Packaging engineering, 41(12), 1-10.
Lu, Z. (2018). Research on the current situation of modern cultural creative product design. Art and Literature for the Masses: Academic Edition, (7), 1-15.
Meng, Y. (2016). Leader in the dragon, and phoenix comes with grace to rest- Study on Dragon and phoenix patterns of Chu lacquerware in the Warring States Period. Work of art, (12), 86-95.
Pang, J. (2007). Study on the Schema and Spirit of Chu Phoenix. [Doctor Dissertation, Hunan Normal University].
Pi, D. (2016). Chu art history. Hubei Fine Arts.
Three Hundred Sixty Baike. (2017). Gui with phoenix pattern and square seat. Retrieved July 9, 2017. https://baike.so.com/doc/6615385-6829178.html
Wang, D. [Photographer]. (2023). Product “Candle Holder Swan”. [Photo]. Burapha University.
Wang, D. [Photographer]. (2023). Product “Pair of Swan Vase” [Photo]. Burapha University.
Wang, D. [Photographer]. (2023). Product “Swan Table Lamp”. [Photo]. Burapha University.
Wei, P. (2010). Attributes and characteristics of cultural and creative products. Cultural Monthly. (8), 1-12.
Yao, W. (1999). On Chu culture from the material life. Forum on Chinese Culture, (1), 1-13.
Yu, J. (2019). Succession and Transmutation: A comparative study on the aesthetics of Chu and Han lacquerware art. Sichuan Drama, 224(4), 87-94.
Yu, W. (1985). Collection of archeology studies in the preQin and Han Dynasties. Cultural Relics Publishing House.
Zhang, Z. (1987). History of Chu Culture. Shanghai People’s Publishing House.
Zhang, Z. (2012). Excellent characteristics and Realization of Chinese cultural and creative products. Truth Seeking, (10), 1-14.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.