การเชื่อมโยงสุนทรียศาสตร์ทางนาฏยศิลป์ตะวันตกกับผู้บริโภค
คำสำคัญ:
นาฏยศิลป์, สุนทรียศาสตร์, ผู้บริโภคบทคัดย่อ
นาฏยศิลป์คืออีกหนึ่งศาสตร์ในศิลปะที่สะท้อนความเชื่อมโยงระหว่าง สุนทรียศาสตร์และพฤติกรรมของผู้บริโภคได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในนาฏยศิลป์ตะวันตก ผู้ศึกษารวบรวมข้อมูลจากประวัติศาสตร์นาฏยศิลป์ตะวันตก แนวคิดนักปรัชญาทางด้าน สุนทรียศาสตร์และนำมาวิเคราะห์ความนิยมและอิทธิพลของนาฏยศิลป์ตะวันตกที่มีต่อ ผู้บริโภค สะท้อนให้เห็นวิวัฒนาการและแนวคิดทางด้านความงาม รสนิยมของผู้บริโภค ในแต่ละยุคสมัย จากอดีตที่ผู้คนเต้นรำแสดงออกเพื่อแสดงออกถึงการเคารพต่อเทพเจ้า ขอผลผลิตทางการเกษตร รักษาโรคภัยไข้เจ็บ เฉลิมฉลอง ถึงสมัยกลางในยุโรปที่มี การเปลี่ยนแปลงโดยนำนาฏยศิลป์เข้ามาเป็นเครื่องมือกำหนดชนชั้นทางสังคม การกลับ มาเฟื่องฟูของนาฏยศิลป์ในยุครีแนสซองค์ สู่ยุคสมัยที่ต้องค้นหาวิธีที่แสดงถึงความเป็น ตนเอง ลักษณะเฉพาะในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ต่อผู้บริโภค จนถึงปัจจุบันที่มีการ ท้าทายระดับชั้นของศิลปะ บทความนี้แสดงเห็นได้ถึงการวิวัฒนาการในนาฏยศิลป์ตะวัน ตกสะท้อนสภาพสังคมและความนิยมของผู้บริโภคตามลำดับเวลาอย่างมีเหตุผล และมี แนวโน้มที่จะพัฒนาเติบโตทางด้านนาฏยศิลป์ตะวันตกและรสนิยมของผู้บริโภคที่จะมี ความหลากหลายมากยิ่งขึ้น
References
เกษม เพ็ญภินันท์. อาจารย์ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (สัมภาษณ์, 1 มีนาคม 2559).
ณัฐกานต์ ลิ่มสถาพร. (2546). Postmodern ดีกว่าแบรนด์ ซับซ้อนกว่าโฆษณา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ทิปปิ้ง พอยท์.
นราพงษ์ จรัสศรี. (2548). ประวัติศาสตร์นาฏยศิลป์ตะวันตก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิรุณ ตั้งเจริญ. (2546). สุนทรียศาสตร์เพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : อีแอนด์ไอคิว.
ศิริมงคล นาฏยกุล. (2557). นาฏยศิลป์ตะวันตกปริทัศน์. มหาสารคาม : โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
Burnham, D. (2016). Kant, Immanuel: Aesthetics / Internet Encyclopedia of Phylosophy. Retrieved 20 April 2016. From http://www.iep.utm.edu/kantaest/
Carter, J. (2011). Agnes de Mille. Martha: The Life and Work of Martha Graham. Retrieved 20 May 2016. From http://www.the-growler.com/?p=1171.
Damen, M. (2012). Section 4: Roman Drama Chapter 13: Early Roman Drama and Theatre. Retrieved 25 May 2016. From http://www.usu.edu/markdamen/ ClasDram/chapters/131romtheatre.htm.
Koski, D. (2015). 10 Brutal and Horrifying Religious Ceremonies. Retrieved 27 May 2016. From http://www.toptenz.net/10-brutal-and-horrifying-religious-ceremonies. php.
Levine, D. (2015). This was Denishawn. Retrieved 23 May 2016. From http://artme me.com /2015/05/31/this-was-denishawn.
Porteous, F. L. (2015). Weekly Style Muse: Isadora Duncan, Free and Interpretive Dancer. Retrieved 15 May 2016. From https://www.bustle.com/ articles/67360-weekly-style-muse-isadoraduncan-free-and-interpretive-dancer.
Reveron, S. (2016). Dance until You Drop…The Dancing Plague of 1518. Retrieved 25 May 2016. From http://www.cvltnation.com/dance-util-you-drop-the-dancing-plague-of-1518.
Wood, D. (2009). ASCILITE 2009 Presentations. Retrieved 30 May 2016. From https://denise-wood.com/tag/3d-virtual-worlds.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.