มิติทางวัฒนธรรมจากการเล่น “สกา” ในวรรณคดีไทย

ผู้แต่ง

  • ณัฐวัตร จันทร์งาม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • อภิวัฒน์ สุธรรมดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

คำสำคัญ:

สกา, การเล่นสกา, มิติทางวัฒนธรรม

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งวิเคราะห์มิติทางวัฒนธรรมจากการเล่น “สกา” ที่ปรากฏใน วรรณคดีไทย โดยศึกษาจากวรรณคดีสันสกฤตพากย์ไทยเรื่องมหาภารตะ และวรรณคดี ชาดกเรื่องวิธุรชาดกเปรียบเทียบกับวรรณคดีไทยเรื่องกากีคำกลอน และพระนลคำหลวง ผลการศึกษาพบว่า “สกา”เป็นภาพแทนของชนชั้นกษัตริย์โบราณ เป็นข้อเตือนใจเรื่อง โทษแห่งการพนัน และเป็นสัญลักษณ์แห่งความสัมพันธ์ไทย-อินเดีย

References

กรุณา กุศลาสัย และ เรืองอุไร กุศลาศัย. (2555). มหำภำรตยุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ : ศยาม.

กีฬำสกำ. (2560). ค้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2560. จาก http://www.l3nr.org

บรัดเลย์, ดี บีช. (2514). อักขรำภิธำนศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). พระนคร : โรงพิมพ์ คุรุสภา.

ประวัติควำมเป็นมำของอำเภอลำนสกำ. (2560). ค้นเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2560. จาก http://www.lansaka.go.th/history.php.

พระคลัง (หน), เจ้าพระยา. (2515). วรรณคดีเจ้ำพระยำพระคลัง (หน). กรุงเทพฯ : บรรณาคาร.

มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2505). พระนลคำหลวง. กรุงเทพฯ : บรรณาคาร.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2543). พระสูตรและอรรถกถำ แปล ขุททกนิกำย ชำดก เล่มที่ 4 ภำคที่ 3. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.

มหาภารตะ. (ภาพยนตร์). (2559). กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ.2554. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.

ลาลูแบร์, (2557). จดหมำยเหตุลำลูแบร์ รำชอำณำจักรสยำม. สันต์ ท. โกมลบุตร, แปล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศรีปัญญา.

บวรบรรณรักษ์, หลวง. (2559). มหำภำรตยุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา.

Geertz, C. (1973). Deep Play: Notes of Balinese Cockfights. In The Interpretation of Cultures. New York : Basic Books.

Falkener, E. (1892). Games Ancient and Oriental and How to Play Them. London : Longman, Green.

Mahabharat [Motion Picture]. (2016). India : JKN Global Media.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-29