โครงสร้างคำเรียกชื่ออาหารไทย: ศึกษาจากตำราแม่ครัวหัวป่าก์ ของท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์

ผู้แต่ง

  • ภาสพงษ์ ผิวพอใช้ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

คำเรียกชื่ออาหาร, การวิเคราะห์โครงสร้าง, ตำราแม่ครัวหัวป่าก์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างของคำเรียกชื่ออาหารในตำราแม่ครัวหัวป่าก์ ของท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้างของคำเรียกชื่ออาหารจำแนกออกได้ 9 โครงสร้าง แต่ละโครงสร้าง ประกอบด้วยส่วนประกอบ 1-3 ส่วน โดยแต่ละโครงสร้างประกอบด้วยคำต่าง ๆ ต่อไปนี้คือ วัตถุดิบหลัก ประเภทการประกอบอาหาร แหล่งที่มา และรสของอาหาร คำในชื่อของอาหารประเภทต่าง ๆ นี้ นอกจากจะแสดงถึงการรับประทานอาการอย่างถูกหลักโภชนาการ ยังบ่งชี้วัฒนธรรมด้านอาหารการกินของคนไทยด้วย ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาจริยธรรใของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มี 5 โครงการ คือ (1) โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมทำบุญปีใหม่ (2) โครงการจิตอาสาพัฒนาลานคน (3) โครงการจิดตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อม (4) โครงการสืบสานประเพณีสงกรานต์ และ (5) โครงการคลินิกกฎหมายสู่ชุมชน 2) นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์มีการแฏิบัติตามหลักจริยธรรม ภาพรวมอยู่ในระดับมาก คือ ด้านความกตัญญู รองลงมาด้านจิตสาธารณะและด้านความซื่อสัตย์ ตามลำดับ และ 3 ) นักศึกษาฯ ที่เรียนชั้นปีต่างกันมีการปฏิบัติตนตามหลักจริยธรรมภาพรวมไม่แตกต่างกัน

References

โกสินทร์ ปัญญาอธิสิน. (2552). การศึกษาคำเรียกการทำอาหารในภาษาถิ่นเหนือ ตามแนวภาษาศาสตร์ชาติพันธ์. วิทยานิพนธ์อัษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชนกพร อังคุวิริยะ. (2557, มกราคม-มิถุนายน). การวิเคราะห์โครงสร้างคำเรียกชื่ออาการภ่าษาท้องถิ่นภาคใต้ ของกลุ่มชาติพันธ์ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ว.ศิลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 6(1), 17-30.

เปลี่ยน ภาสกรวงศ์, ท่านผู้หญิงใ (2554). ตำราแม่ครัวหัวป่าก์ เล่ม 1-5. (พิมพ์ครั้งที่ 7). นนทบุรี: ต้นฉบับ.

ภาสพงษ์ ผิวพอใช้. (2560). คำแสดงโภชนาลักษณ์ในตำราแม่ครัวหัวป่าก์ของท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์: ภาพสะท้อนด้านภาษาและวิถีชีวิตคนไทย. อุบลราชธานี: โครงการวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

สุนันทา อัญชลีนุกูล. (2550). คำแสดงโภชนาการลักษณ์ในตำราอาหารของ ม.ล.เติม ชุมสาย และในตำราอาหารเว็บไซต์ปลาแดกดอทคอม. ใน รวมบทความวิจัยยำใหญ่ใส่สารพัด: วัฒนธรรมอาหารไทย-เทศ. (น.131-151). กรุงเทพฯ : คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุนันทา อัญชลีนุกูล. (2551). หลากมิิคพแสดงโภชนาการลักษณ์ในตำราอาหารไทย อังกฤษ ฝรั่งเศส. ว.อักษาศาสตร์ (ฉบับพิเศษ). 251-277.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-29