แนวทางการสร้างนวัตกรรมของธุรกิจขนาดย่อม สำหรับผู้ประกอบการยุคใหม่

Main Article Content

สุภาภรณ์ สมไพบูลย์
โสรัจจ์ วิสุทธิแพทย์
ทรงพล วิธานวัฒนา
บุษราคัม สีดาเหลือง

บทคัดย่อ

การสร้างนวัตกรรมสำหรับผู้ประกอบการเป็นการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
ไม่เฉพาะกับกลุ่มของผู้ประกอบการขนาดใหญ่เท่านั้น แต่ผู้ประกอบการขนาดย่อมก็ควรให้ความสำคัญกับการสร้างหรือการนำนวัตกรรมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจ ซึ่งนวัตกรรมมีหลายประเภทและเกิดขึ้นได้จากหลากหลายวิธี ดังนั้น ผู้ประกอบการที่สนใจในการสร้างนวัตกรรมควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทและแนวทางการสร้างนวัตกรรมเพื่อสามารถพิจารณาเลือกนวัตกรรมที่เหมาะสมกับตนเอง ลูกค้า และลักษณะของธุรกิจ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ประกอบการมีศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจและส่งผลให้เกิดความมั่นคง โดยผลการเปรียบเทียบเกี่ยวกับ
การลงทุน ความเสี่ยง ความซับซ้อนในการสร้างนวัตกรรม และผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการสร้างและ
นำนวัตกรรมประเภทต่าง ๆ มาใช้ พบว่าการสร้างนวัตกรรมการบริการ เป็นแนวทางที่มีการลงทุนในระดับปานกลาง มีความเสี่ยงระดับต่ำ มีความซับซ้อนในระดับปานกลาง แต่มีผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับในระดับสูง จึงทำให้
การพัฒนานวัตกรรมด้านการบริการอาจเป็นตัวเลือกที่เหมาะสมกับผู้ประกอบการขนาดย่อมเพื่อนำมาใช้ในการดำเนินงาน ให้ธุรกิจสามารถอยู่รอดและพัฒนาได้ต่อไป ซึ่งมีแนวทาง 5 ขั้นตอน คือ 1) ทำความเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย 2) การระบุประเด็นปัญหา 3) การระดมความคิด 4) การสร้างต้นแบบอย่างง่าย และ 5) การทดสอบต้นแบบกับกลุ่มเป้าหมาย

Article Details

How to Cite
สมไพบูลย์ ส., วิสุทธิแพทย์ โ., วิธานวัฒนา ท., & สีดาเหลือง บ. (2023). แนวทางการสร้างนวัตกรรมของธุรกิจขนาดย่อม สำหรับผู้ประกอบการยุคใหม่. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2(1), 78–88. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jmsnrru/article/view/1490
บท
บทความวิชาการ

References

กรมสรรพากร. (2562). เกี่ยวกับธุรกิจ SMEs. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.rd.go.th/publish/ fileadmin/user_upload/SMEs/infographic/360_1.pdf. [12 ธันวาคม 2565]

กรุงเทพธุรกิจ. (2564). สถานการณ์ SME ไตรมาส 3/2564 ดีขึ้นต่อเนื่องขยายตัว 0.2%. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.bangkokbiznews.com/business/978191. [21 ธันวาคม 2565].

กัลยา พาณิชย์บัญชา. (2559). สถิติสำหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา.

ฐิตา เภกานนท์. (2562). ปลดล็อก SMEs ไทยปรับตัวอย่างไรให้เติบโต. โครงการศึกษาด้านโครงสร้างเศรษฐกิจไทยที่มีนัยต่อการดำเนินนโยบายสายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.bot.or.th/Thai/ MonetaryPolicy/EconomicConditions/AAA/SMEs_paper.pdf. [15 ธันวาคม 2565].

ธนาคารกรุงเทพ. (2562). ปลดล็อก 5 อุปสรรคกั้นเอสเอ็มอีเข้าถึงนวัตกรรม. SME Update. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.bangkokbanksme.com/en/sme-innovation. [7 ธันวาคม 2565].

ประจักษ์ เฉิดโฉม. (สิงหาคม 2556). “ธุรกิจนวัตกรรม.” วารสาร TPA news. 17(200): 8.

วรรณยศ บุญเพิ่ม และไตรรัตน์ สิทธิทูล. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559). “กลยุทธ์การออกแบบเพื่อการขับเคลื่อน ธุรกิจ: กรณีศึกษา คณะผู้บริหารและเจ้าของกิจการในธุรกิจ SMEs ในประเทศไทย.” วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม. 4(2) : 144-151.

สำนักงานพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจห่งชาติ. (2565). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566-2580) (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/ploads/

/12/NS_file-23NS-261265.pdf. [25 พฤศจิกายน 2565]

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2564). รายงานสถานการณ์ SME. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.sme.go.th/th/download.php?modulekey=215. [25 พฤศจิกายน 2565].

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2563). กฎกระทรวงกำหนดลักษณะของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. 2562. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.dusit.ac.th/home/wp-content/ uploads/2020/03/กฎกระทรวงกำหนดลักษณะของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.pdf. [24 พฤศจิกายน 2565].

Chalvatzis, K. J., et. al. (July 2019). “Sustainable resource allocation for power generation : The role of big data in enabling interindustry architectural innovation.” Technological Forecasting and Social Change. 144 : 381-393.

Chesbrough, H. W. (2003). Open innovation : The new imperative for creating and profiting from technology. Massachusetts : Harvard Business Press.

Christensen, C.M. (1997). The Innovators Dilemma: when new technologies cause great firms to fail. Massachusetts : Harvard Business School Press.

Drucker, P. (2014). Innovation and entrepreneurship. New York : Routledge.

Goni, J.I. C., & Van Looy, A. (2022).“Process innovation capability in less-structured business processes: a systematic literature review.” Business Process Management Journal. 28(3) : 557-584.

Gledson, B. (November 2022). “Enhanced model of the innovation-decision process, for modular-technological-process innovations in construction.” Construction Innovation. 22(4) :

-1103.

Henderson, R. M., & Clark, K. B. (Mar 1990). “Architectural innovation: The reconfiguration of existing product technologies and the failure of established firms” Administrative science quarterly. 35(1) : 9-30.

Heng, L., et.al. (2020). “Service innovation capability for enhancing marketing performance: An SDL perspectives.” Business: Theory and Practice. 21(2) : 623-632.

Lee, K. (2018). Innovative Design Thinking Process with TRIZ. In International TRIZ Future Conference (pp. 241-252). Springer. Cham.

Li, B., & Huang, L. (2019). “The effect of incremental innovation and disruptive innovation on the sustainable development of manufacturing in China.” Sage Open. 9(1) : 1-14.

Osterwalder, A., et al. (2015). Value proposition design: How to create products and services customers want. New Jersey : John Wiley & Sons.

Plattner, H., Meinel, C., & Leifer, L. (Eds.). (2012). Design thinking research. Berlin : Springer.

Rothwell, R., & Gardiner, P. (April 1989). “The strategic management of re-innovation.” R&d Management. 19(2): 147-160.

Schumpeter, J.A. (1975) Capitalism, Socialism and Democracy. New York : Harper & Row.

Smith, D. (2006). Exploring innovation: Management (policy&practice). Berkshire : McGraw Hill Education.

Tidd, J., & Bessant, J. R. (2020). Managing innovation:integrating technological, market and organizational change. : John Wiley & Sons.