ปัจจัยสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพโลจิสติกส์ของผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ดิลิเวอรี ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

Main Article Content

ชัยพิสิทธิ์ ติวสร้อย
ภคพร ผงทอง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยสนับสนุนด้านโลจิสติกส์และประสิทธิภาพโลจิสติกส์ 2) ปัจจัยสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพโลจิสติกส์ของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ดิลิเวอรี ในเขตอำเภอ
เมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 385 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย
สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยสนับสนุนด้านโลจิสติกส์และประสิทธิภาพโลจิสติกส์ของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ดิลิเวอรีอยู่ในระดับมาก ปัจจัยสนับสนุนด้านโลจิสติกส์มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพโลจิสติกส์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ร้อยละ 73.4 โดยปัจจัย
การสื่อสารด้านโลจิสติกส์ การจัดการบรรจุภัณฑ์ และการขนถ่ายพัสดุส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สำหรับการเลือกทำเลที่ตั้งส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากการวิจัยสามารถนําผลที่ได้จากการศึกษาเป็นแนวทางสนับสนุนเพื่อพัฒนาคุณภาพบริการของผู้ให้บริการโลจิสติกส์เดลิให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Article Details

How to Cite
ติวสร้อย ช., & ผงทอง ภ. (2024). ปัจจัยสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพโลจิสติกส์ของผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ดิลิเวอรี ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 3(1), 29–42. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jmsnrru/article/view/2529
บท
บทความวิจัย

References

กรมการปกครอง. (2565). สถิติจำนวนประชากร พื้นที่ จังหวัดสุพรรณบุรี อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ข้อมูลเดือน ธันวาคม 2565. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/

statmonth/#/displayData. [2 พฤศจิกายน 2566].

กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. (2551). คู่มือการบริหารจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรม.

กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม.

กิตตินาท นุ่นทอง, วงศ์ธีรา สุวรรณิน และดารณี พลอยจั่น. (กันยายน-ธันวาคม 2564). “ปัจจัยคุณภาพ

การบริการโลจิสติกส์ที่ส่งผลต่อความภักดีของผู้ใช้บริการ ธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ในประเทศไทย.” วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 4(3) : 42-63.

จิราภรณ์ ชนัญชนะ. (กันยายน - ธันวาคม 2564). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของลูกค้าจากการใช้บริการขนส่งสินค้าในรูปแบบเดลิเวอรี่.” วารสารวิชาการ การจัดการภาครัฐและเอกชน. 3(3) : 158-166.

ชยพล ผู้พัฒน์, วรอนงค์ โถทองคำ และพรทิพย์ รอดพ้น. (มกราคม-มิถุนายน 2565). “การวิเคราะห์องค์ประกอบการขนส่งสินค้าของธุรกิจโลจิสติกส์ในภาวะวิกฤตโรคระบาดโควิด-19.” วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 1(1) : 34-50.

รุธิร์ พนมยงค์. (2547). การจัดการโลจิสติกส์ในประเทศ. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์เวลาดี

วนิดา ผจงกิจการ, ฉัตรพล มณีกูล และปณิตา ราชแพทยาคม. (มกราคม 2564). “การจัดการโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของลูกค้ากรณีศึกษา: การให้บริการพัสดุเร่งด่วน ณ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์.” วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 7(1) : 17-32.

สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. (2558). คู่มือการประเมินประสิทธิภาพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท เอ็มดิก โฮลดิ้ง จํากัด.

สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). แผนปฏิิบััติิการด้้านการพััฒนาระบบโลจิิสติิกส์์ของประเทศไทย พ.ศ. 2566-2570. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.nesdc.go.th/download/

document/logistic/Thailand%20Logistics%20Action%20Plan%202023-2027%20 (Public%20 Version).pdf. [2 พฤศจิกายน 2566].

ศรีศรินทร์ นรเศรษฐโสภณ และคณะ. (มกราคม - มิถุนายน 2566). “องค์ประกอบประสิทธิภาพโลจิสติกส์

ของผู้ให้บริการโลจิสติกส์เดลิเวอรี่.” วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 9(1) : 31-48.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2566). ผู้ให้บริการแพลตฟอร์ม Food Delivery เร่งปรับสมดุลทางธุรกิจต่อเนื่อง ท่ามกลางตลาดสั่งอาหารที่มีโจทย์ท้าทายรออยู่. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.kasikornresearch.com/ th/analysis/k-econ/business/Pages/FOOD-DELIVERY-CIS3423-B-19-07-2023.aspx. [2 พฤศจิกายน 2566].

Bowersox, D. J., Closs, D. J., & Stank, T. P. (1999). 21st Century Logistics: Making Supply Chain Integration a Reality. Illinois : Council of Logistics Management.

Christopher, M. (2016). Logistics & supply chain management. Uk : Pearson.

Cochran, W.G. 1953. Sampling Techniques. New York : John Wiley & Sons, Inc.

HUA et al. (January 2020). “The Mediating Role of Logistics Service Capability on Chinese Logistics Performance.” International Review of Social Sciences. 8(1) : 1-13.

Lin, C. Y. (February 2007). “Factors affecting innovation in logistics technologies for logistics service providers in China.” Journal of technology management in china. 2(1) : 22-37.

Morash, E. A., Droge, C. L., & Vickery, S. K. (1996). “Strategic logistics capabilities for competitive advantage and firm success.” Journal of business Logistics. 17(1) : 1-22.

Otsetova, A. (2017). “Relationship between Logistics Service Quality, Customer Satisfaction and Loyalty in Courier Service Industry.” Management and Education. 13(2) : 51-57.

Stock, J. R., & Lambert, D. M. (2001). Strategic logistics management. 4th Edition. Massachusetts: McGraw-Hill/Irwin.

Uvet, H. (2020). “Importance of logistics service quality in customer satisfaction: An empirical study. Operations and Supply Chain Management.” An International Journal. 13(1) : 1-10.