พลังปัจจัยการผลิตกับวัฏจักรเศรษฐกิจ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความเรื่องพลังปัจจัยการผลิตกับวัฏจักรเศรษฐกิจนี้ เป็นบทความวิชาการเชิงปรัชญาที่ได้กลั่นกรองประมวลองค์ความรู้ทฤษฎีวัฏจักรเศรษฐกิจและทฤษฎีปัจจัยการผลิต เพื่ออธิบายเชื่อมโยงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของการใช้ปัจจัยการผลิตในแต่ละช่วงของวัฏจักรเศรษฐกิจ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยการผลิตภายใต้สถานการณ์วัฏจักรเศรษฐกิจแต่ละช่วงของประเทศไทย สู่การสร้างองค์ความรู้สำหรับการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจในแต่ละช่วงของวัฏจักรเศรษฐกิจ ซึ่งพลังปัจจัยการผลิตในแต่ละช่วงของเศรษฐกิจนั้นมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ ในระยะเศรษฐกิจเฟื่องฟู ปัจจัยการผลิตจะถูกใช้เพิ่มขึ้นอย่างมาก ในระยะเศรษฐกิจถดถอย ปัจจัยการผลิตต่าง ๆ จะไม่ถูกใช้เพิ่มขึ้น ในระยะเศรษฐกิจตกต่ำนี้ จะมีการลดการใช้ปัจจัยการผลิตลงจนถึงไม่ใช้เลย และในระยะเศรษฐกิจฟื้นตัว ปัจจัยการผลิตจะถูกกลับมาใช้อีกครั้ง ผู้เขียนได้เสนอแนะการใช้นโยบายเศรษฐกิจมหภาคสำหรับการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยให้มีความสอดคล้องกับวัฏจักรเศรษฐกิจ เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนต่อไป
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความในวารสารเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราขสีมา
บทความที่ปรากฎในวารสารเป็นความคิดเห็นของผู้แต่งเพียงอย่างเดียวซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวารสาร
References
เบญจวรรณ จันทระ. (2553). ผลของนโยบายการเงินนโยบายการคลังและดุลการชำระเงินต่อระบบเศรษฐกิจประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุชาติ ธาดาธำรงเวช. (2549). ทฤษฎีหลักว่าด้วยการบริหารนโยบายเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มิ่งมิตร.
_______________. (2551). 2020 ประเทศไทย. กรุงเทพฯ : เอ อาร์อินฟอร์เมชัน แอนด์ พับพลิเคชัน.
เสาวณีย์ จันทะพงษ์. (2567). เจาะลึกการเติบโตเศรษฐกิจไทย ในรอบ 30 ปี : ความจริง ความหวัง และความพยายาม. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://thaipublica.org/2024/03/source-of-gdp-growth.
มกราคม 2567].
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). รายได้ประชาชาติของประเทศไทย พ.ศ. 2566. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=ni_page. [4 มกราคม 2567].
Froyen, R. T. & Low, L. (2001). Macroeconomics An Asian Perspective. Singapore: Pearson Education Asia Pte Ltd.
Mankiw, N. G. (2021). Principles of microeconomics. 9 th ed. Mason Ohio: South-Western Cengage Learning.
Neva, G. (2016). Principles of Macroeconomics. University of Minnesota: Libraries Publishing.
_______ (2023). Macroeconomics in Context. 4th edition. United State of American: Routledge Taylor & amp; Francis Group.