พฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศของประชาชนพื้นที่กรุงเทพตะวันออก

Main Article Content

พิชศาล พันธุ์วัฒนา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) คุณลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคลของประชาชนพื้นที่กรุงเทพตะวันออก 2) ลักษณะการวางแผนก่อนเดินทางท่องเที่ยวและรูปแบบการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศ และ
3) ความคาดหวัง และประโยชน์ที่ได้จากการท่องเที่ยวในประเทศของประชาชนพื้นที่กรุงเทพตะวันออก งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถาม เก็บข้อมูลจากประชาชนพื้นที่กรุงเทพตะวันออก จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนกรุงเทพตะวันออกส่วนใหญ่เป็นเพศชาย สถานภาพโสด อายุระหว่าง 36 -45 ปี สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงานเอกชน และมีรายได้ต่อเดือน 30,000-45,000 บาท 2) ประชาชนกรุงเทพตะวันออกส่วนใหญ่ มีแฟน/สามีภรรยาเป็นผู้ร่วมเดินทางท่องเที่ยว ใช้รถยนต์ส่วนตัวเป็นพาหนะเดินทาง ใช้โรงแรมเป็นที่พัก โดยผ่านการจองด้วยวิธีจองโดยตรงกับที่พัก และ 3) ประชาชนกรุงเทพตะวันออกส่วนใหญ่มีความคาดหวังที่จะได้รับความสุขสนุกสนานจากการเดินทางท่องเที่ยว มีความคิดเห็นว่าการได้เรียนรู้รูปแบบการใช้ชีวิตของคนในพื้นที่เป็นประโยชน์

Article Details

How to Cite
พันธุ์วัฒนา พ. (2024). พฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศของประชาชนพื้นที่กรุงเทพตะวันออก. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 3(2), 15–28. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jmsnrru/article/view/2915
บท
บทความวิจัย

References

กองวิจัยการตลาด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2561). โครงการศึกษาพฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีศักยภาพในการใช้จ่าย ปี 2561. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://tourismlibrary.tat.or.th/medi as/sector7rabbithood.pdf?fbclid=IwAR28pAKuoQMIVA8phA0WkvZPkrPDODuQOro7P7WS bLjv4k7N_GsUJvlGNt0. [27 ธันวาคม 2566].

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2567). สถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศรายจังหวัด ปี 2566 (Domestic Tourism Statistics (Classify by region and province 2023)). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https: //www.mots.go.th/news/category/705. [12 มีนาคม 2567].

เกศินี โพธิ์เพชร, สุพิศ ฤทธิ์แก้ว และสมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2563). “พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในแหล่งท่องเที่ยวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช.” วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 37(2) : 110-137.

นภัสพร จงรักษ์. (2560). พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลต่อการตัดสินใจใช้บริการบริษัทนำเที่ยว. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://ethesisarchive.tu.ac.th/ thesis/2017/TU_ 2017_5902031565_7325_6131.pdf. [6 มกราคม 2567].

บริสุทธิ์ แสนคำ. (2564). “พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยหลังสถานการณ์โควิด 19.” วารสารศิลปศาสตร์และอุตสาหกรรมบริการ. 4(1) : 160-168.

ปฐวี อินทร์สุวรรณโณ และกุลดา เพ็ชรวรุณ. (2565). “การศึกษาพฤติกรรม ความคาดหวัง และความพึงพอใจ

ของนักท่องเที่ยวสูงวัยในจังหวัดแถบอันดามัน ประเทศไทย.” วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์. 12(2) : 28-61.

ภาสกฤษฎิ์ ศรีสารคาม ทรงวุฒิ เอกวุฒิวงศา และสมชาย เชะวิเศษ. (2563). “การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์เชื่อมโยงการท่องเที่ยวปริมณฑลฝั่งตะวันออก.” วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์. 7(2) : 200-225.

วาสนา ขวัญทองยิ้ม, ชวลีย์ ณ ถลาง และเสรี วงษ์มณฑา. (2566). “พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวพหุวัฒนธรรมในจังหวัดสงขลา.” วิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์. 4(1) : 43-56.

วัชรวิชญ์ วิยาภรณ์ และพิมพร ศรีรุ่งเรือง. (2567). “ความคาดหวังและความพึงพอใจด้านความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร.” วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย. 19(1) : 30-39.

ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว. (2567). ประมาณการสถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศโดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://intelligencecenter.tat.or.th/articles/16148. [6 มกราคม 2567].

สิริลักษณ์ พิชัยณรงค์ และคณะ (2566). “ความคาดหวังของนักท่องเที่ยวที่มีผลต่อสภาพความพร้อมทางการท่องเที่ยวของถนนคนเดินสีลม จังหวัดกรุงเทพมหานคร.” วารสารการจัดการการท่องเที่ยว นันทนจิตและจิตบริการ. 5(2) : 1-10.

สุุกานดา ถิ่นฐาน และอนุชา แพ่่งเกษร. (2566). “สร้าง สรรค์์ สุข: การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์บนพื้นที่

พหุวัฒนธรรม เพื่อสอดรับกับพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในความปกติใหม่ จังหวัดกาญจนบุรี.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 43(2) : 1-13.

สันฐิตา ร้อยอำแพง, ราณี อิสิชัยกุล และรชพร จันทร์สว่าง. (2566). “พฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงอาหารของนักท่องเที่ยวชาวไทย: กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ไทยวน จังหวัดสระบุรี.” วารสารมนุษยศาสตร์

และสังคม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์. 9(2) : 281-297.

สำนักภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร. (2565). จำนวนประชากรพื้นที่

ความหนาแน่น จำนวนบ้าน จำนวนตามแขวงในเขตกรุงเทพมหานคร. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://webportal.bangkok.Go.th/pipd/page/sub/23329. [27 ธันวาคม 2566].

สำนักบริหารการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย. (2564). จำนวนประชากรแยกตามเพศ จำแนกตามเขตในกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2564 (เรียงตามจำนวนประชากรรวม). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://webportal.ba ngkok.go.th/pipd/page/sub/. [26 ธันวาคม 2566].

สำนักงานปกครองและทะเบียน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. (2566). การแบ่งพื้นที่เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://office2.bangkok.go.th/ard/?page_id=4048. [26 ธันวาคม 2566].

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ.

-2570). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://secretary.mots.go.th/more_news.php?cid=60.

ธันวาคม 2566].

อภิญญา ชื่นขำ และมณฑกานติ ชุบชูวงศ์. (2566). “ความคาดหวังและความพึงพอใจต่อคุณภาพการบริการ

ของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยที่ใช้บริการโรงแรมระดับ 3 ดาวในเขตกรุงเทพมหานคร.” วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์. 25(2) : 120-132.

George, T. (2023). What is Secondary Research? | Definition, Types, & Examples. [Online]. Available : https://www.scribbr.com/methodology/secondary-research/. [4 January 2024].

Mathieson, A., & Wall, G. (1982). Tourism: Economic, physical, and social impacts. New York : Longman.

Mayo, E.J., & Jarvis, L.P. (1981). “The Psychology of Leisure Travel: Effective. Marketing and Selling of Travel Services.” Journal of Travel Research. 20(3).

Parasuraman, A., Zeithaml, V.A. & Berry, L.L. (1990). Delivery quality service: balancing customer perceptions and expectations. New York : A Division of Macmilan, Inc.

Rahman, M. M., Tabash, M. I., Salamzadeh, A., Abduli, S., & Rahaman, M. S. (2022). “Sampling techniques (probability) for quantitative social science researchers: a conceptual guidelines with examples.” Seeu Review, 17(1), 42-51.

Schmoll, G.A. (1977). Tourism Promotion: Marketing Background, Promotion Techniques and Promotion Planning Methods. London : Tourism International Press.

U.S. Department of Health and Human Services. (2022). The Belmont Report: Ethical Principles and Guidelines for the Protection of Human Subjects of Research. [Online]. Available : https://www.hhs.gov/ohrp/regulations-and-policy/belmont-report/index.html.

March 2024].

Vroom, V.H. (1964). Work and motivation. New York : John Wiley & Sons.

Wahab, S., Crampon, L.J., & Rothfield, L.M. (1976). Tourism marketing : a destination-orientated programme for the marketing of international tourism. London : Tourism International Press.

Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis. New York : Harper & Row.