การปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาตามหลักสติปัฏฐาน 4 เพื่อการพ้นทุกข์

ผู้แต่ง

  • พระครูสถิตธรรมาลังการ (จำเนียน สุชาโต) วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา, สติปัฏฐาน 4, การพ้นทุกข์

บทคัดย่อ

พระพุทธศาสนามีหลักคำสอนให้รู้จักทุกข์และวิธีการดับทุกข์มากมาย แต่ทุกคนไม่ค่อยเดินให้ถูกทางไปเดินทางที่มีทุกข์ กันเกือบทั้งนั้น ทำให้สังคมทั้งอดีตและปัจจุบัน จะมีแต่ความเร้าร้อนกันเป็นจำนวนมาก  หากบุคคลใดทำความเข้าใจเรียนรู้หลักธรรมในสติปัฏฐานสูตร 4  มีเนื้อหาหลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติธรรม อันเป็นอุบายวิธีที่จะเข้าถึงสัจธรรมอย่างแท้จริงอันในไปสู่ความพ้นทุกข์ ในทางพระพุทธศาสนา และทำให้ผู้ปฏิบัตินั้นๆ เป็นผู้ตื่นจากอวิชชาความไม่รู้ รู้แจ้งสัจธรรมอันสูงสุดในทางพุทธศาสนา สามารถเข้าถึงหลักการพัฒนากาย พัฒนาจิต และสติปัญญา อย่างแท้จริง แต่จะต้องนำเอาหลักธรรมนั้นมาประพฤติปฏิบัติธรรม จึงจะรู้แจ้งเห็นจริงในสัจธรรมได้ ด้วยเหตุนี้ ผู้เขียน จึงได้ศึกษาเนื้อหาหลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักธรรมในสติปัฏฐาน 4 ว่า มีความเป็นมา ความสำคัญ นำสู่การพ้นทุกข์ นำไปสู่การบรรลุธรรมในทางพระพุทธศาสนาในที่สุด

References

ภาษาบาลี - ไทย:

1 ข้อมูลปฐมภูมิ

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539).พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุลงกรณราชวิทยาลัย.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกและอรรถกถาภาษาบาลี. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราช วิทยาลัย, 2525.

มหามกุฏราชวิทยาลัย..พระไตรปิฎกและอรรถกถาภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2525.

2 ข้อมูลทุติยภูมิ

2.1 หนังสือ วารสาร งานวิจัย

เขมรังสี ภิกขุ. (2558). วิปัสสนากรรมฐานในชีวิตประจําวัน.พระนครศรีอยุธยา: แคนนากราฟฟิค.ภัทรนิธิ์ วิสุทธิศักดิ์.(2552).

รูปแบบผลมผลานการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามหลักสติปัฏฐาน. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา).มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระครูสุนทรกาญจนาคม (แก้วเกิด สุพฺพจฺโจ). (2559). “ศึกษาแนวทางการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสติสัมปชัญญสูตร”. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิปัสสนาภาวนา).มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2553). รู้หลักก่อนแล้วศึกษาและสอนให้ได้ผล. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์สวย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2557). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย.พิมพ์ครั้งที่ 39.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

_พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2553), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่ 15, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมมิก จำกัด, หน้า 462.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2557). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย.พิมพ์ครั้งที่ 39.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2546).โพธิปักขิยธรรม 37ประการ.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ.9). (2532). วิปัสสนากรรมฐาน.กรุงเทพมหานคร:ทอมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ จ ากัด.

มหาสติปัฏฐานสูตร ทางสู่พระนิพพาน. แปลโดย พระคันธสาราภิวงศ์. กรุงเทพมหานคร: ไทยรายวันการพิมพ์.

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). (2548).วิสุทธิมรรค.กรุงเทพมหานคร: ธนาเพรส VEN.

พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), มหาสติปัฏฐานสูตรทางสู่พระนิพพาน, .

พระโสภณมหาเถระ, วิปัสสนานัย เล่ม 1, พระพรหมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม), ตรวจชำระ, พระคันธสาราภิวงศ์ แปล และเรียบเรียง,

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสมมหาเถระ),2554), อริยวังสปฏิปทา ปฏิปทาอันเป็นวงศ์แห่งพระอริยเจ้า, (กรุงเทพมหานคร: ประยูรสาส์นไทย การพิมพ์, .

ภัทรนิธิ์ วิสุทธิศักดิ์, 2552.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-29