การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้วิธีการสอนแบบเปิด (Open Approach)
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้วิธีการสอนแบบเปิด (Open Approach) และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้วิธีการสอนแบบเปิด (Open Approach) ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่องโจทย์ปัญหาการบวก โดยใช้วิธีการสอนแบบเปิด (Open Approach) โรงเรียนอนุบาลศรีธาตุ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 28 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เพราะเป็นนักเรียนที่ผู้วิจัยรับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอนและมีความบกพร่องในการแก้ โจทย์ปัญหาการบวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) วัดผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตร์ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอนุบาลศรีธาตุ ผลการวิจัยพบว่า 1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่องโจทย์ปัญหาการบวก โดยใช้วิธีการสอนแบบเปิด (Open Approach)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (ฉบับปรุง 2560). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักรา 2551.
บุณยนุช ทูรศิลป์ และวีรวัฒน์ ไทยขำ.(2560). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบจำนวนเต็มโดยใช้วิธีการแบบเปิด สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนโกรกพระ.รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ครั้งที่ 4 (244 - 253).กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
ประภัสสร เพชรสุ่ม. (2560). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดมะม่วงตลอด. นครศรีธรรมราช: ม.ป.พ.
ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์และคณะ. (2558). การใช้หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหาของนักเรียน. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วันชนะ เชิงดี. (2555). การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้วิธีการแบบเปิดสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).
อัสมาอ์ หะยีตาเฮร์. (2560). ผลของการสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิดที่มีต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์).
Becker, J.P; & Shimada, S. (1997). The Open-Ended Approach : A New Proposal for Teaching Mathematics. Virginia : National Council of Teachers of Mathematics.
Nohda, N. (2000). A Study of “Open-Approach” Method in School Mathematics.Teaching. Makuhuri: University of Tsukuba
Nohda, N. (2000). Teaching by open-approach method in Japanese mathematics classroom. Proceeding of the 24th conference of the International Group for the Psychology of Mathematics Education, Hiroshima, Japan, July 23- 27, volume 1-39-53.
Nielson, M.E., and Bostic, J.D. (2018). Connecting and Using Multiple Representations. Mathematics Teaching in the Middle School. 23 (7): 386 – 393. DOI: https://doi.org/10.5951/mathteacmiddscho.23.7.0386.