การประเมินทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
รูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
เน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน โดยเฉพาะทักษะทั้ง 3 ด้าน
เพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อและ
เทคโนโลยี และทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะเหล่านี้มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้เรียนในศตวรรษ
ที่ 21 พึงมี การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นั้น กระบวนการหนึ่งที่มีความสำคัญนั่นคือการประเมิน
ทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อที่ครูจะได้ตรวจสอบความก้าวหน้าและมีเครื่องมือที่เหมาะสมในการประเมิน
ผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งนำเสนอแนวคิดหลักการและแนวทางปฏิบัติในการประเมินผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21 เพื่อเป็นแนวทางในการประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ที่มีความเหมาะสมกับบริบทของ
การศึกษาไทย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0
References
ขจรศักดิ์ บัววระพันธ์.(2555). การประเมินทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. จุลสารนวัตกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 28 เดือน ตุลาคม-ธันวาคม.
จารุนันท์ ขวัญแน่น. (2558). การพัฒนารูปแบบการประเมินการรู้คณิตศาสตร์. วิทยานิพนธ์ วิจัยและประเมินผลการศึกษา, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน. (2555). ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คืออย่างไร. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2559. จาก http://www.qlf.or.th/.
Edwards ,TB. (1950). Measurement of some aspects of critical thinking. Journal of Experimental Education, 18:263–278.
Kerlinger, Fred N. .Foundation of Behavioral Research. U.S.A. : Holt, Rinehart andWinston, Inc.,
Reeves. (2010). A framework for assessing 21st century skills. In Bellanca & Brandt (Eds.), 21st century skills : Rethinking how students learn Bloomington, IN : Solution Tree Press.
Rotherham, A, & Willingham, D. (2009). 21st century. Educational Leadership,September,16-21.
Scriven, Michael. (1967). The Methodology of Evaluation. In curriculum evaluation,(pp./ 60-75). Chicago: American Educational Research Association.
Thorndike, E. L. (1911). Animal Intelligence. New York: Macmillan.
Worthen B.R. & Sanders J.R. (1973). Education Evaluation : Theory and Practice. Ohio : Wadworth Publishing company, Inc.