การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยฝึกอบรมตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เรื่อง การปฐมนิเทศครูและบุคลากรใหม่ของโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา

Main Article Content

ศุภสิริ พิทักษ์สายชล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยฝึกอบรม ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เรื่อง การปฐมนิเทศครูและบุคลากรใหม่ของโรงเรียนอัสสัมชัญ ศรีราชาให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นครูและบุคลากรใหม่ของโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชาที่เริ่มเข้าปฏิบัติงานในปีการศึกษา 2559 จำนวน 23 คน ผลการวิจัยปรากฏว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยฝึกอบรมตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เรื่อง การปฐมนิเทศครูและบุคลากรใหม่ของโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา มีคุณภาพด้านเนื้อหาและการออกแบบบทเรียน อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด และมีประสิทธิภาพของบทเรียนเท่ากับ 91.30/92.35 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ที่กำหนดไว้

Article Details

บท
Research article

References

คนึงนิจ อนุโรจน์. (2555). บูรณาการทฤษฎีสู่แนวคิดการสร้างคนเก่งคนดีขององค์การ. (ออนไลน์). http://www.alph9thi.gotoknow.org/assets/media/file/000/401/951/original_H RM.pdf?1285730539. [2556, ตุลาคม 14].

คมธัช รัตนคช และดนุพล คลอวุฒินันท์. (2553). แนวความคิดพื้นฐานของการฝึกอบรม. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.

จิรวัฒนา มูลเมือง. (2551). การพัฒนาชุดฝึกอบรมเรื่อง “การเบิก – จ่ายเงินบำรุงกิจกรรมนิสิต” วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2554). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพ: จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐกร สงคราม. (2553). การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐณิชา ใฝ่ใจความรู้ และคณะ. (2555). เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น. เชียงใหม่ : คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่.

ทิศนา แขมณี. (2553). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ. (2552). เทคนิคการฝึกอบรม. ชลบุรี : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

มงคล รัตนวิจิตตากร. (2549). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร่ช่วยฝึกอบรม เรื่อง ระบบ มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (เทคโนโลยีทางการศึกษา). มหาวิทยาลัยบูรพา.

รชตวรรณ เชื้อเพชร. (2549). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยฝึกอบรม เรื่อง เครื่องหมาย จราจรและพฤติกรรมในการขับขี่อย่างปลอดภัย สำหรับผู้เรียนช่วงอายุ 15 – 18 ปี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

รุ่งอรุณ ไสยโสภณ. (2551). การจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างความพร้อมในการเรียนรู้โดยการชี้นำ ตนเองและความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (อาชีวศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมศักดิ์ คูหาสวรรค์เวช. (2545). การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบมีส่วนร่วม ของเครือข่ายท่องเที่ยวเชิงเกษตรจังหวัดระยอง. การค้นคว้าแบบอิสระ ศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สารสนเทศโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา. (2554). ชลบุรี: โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา.

Hannafin, M.J., Hall, C., Land, S., & Hill, J. (1994). Learning in open environments: Assumptions,methods, and implications. Educational Technology. (pp.48-55).