ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1

Main Article Content

ณพัฐอร เกษมี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษา 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษา 3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดระบบสารสนเทศกับการจัดระบบสารสนเทศ 4) สร้างพยากรณ์การจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 1 โดยภาพรวมพบว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ รองลงมาคือ การนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ และการรวบรวมข้อมูล 2. ปัจจัยการที่ส่งผลต่อการจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 1 โดยภาพรวมพบว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการบริหารจัดการ รองลงมาคือ ด้านวัสดุอุปกรณ์ และด้านบุคลากร 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดระบบสารสนเทศมีความสัมพันธ์กับการจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 โดยภาพรวมพบว่า มีความสัมพันธ์กันในระดับสูงที่สุด โดยด้านที่มีความสัมพันธ์สูงที่สุดคือ ด้านงบประมาณกับด้านบุคลากร ด้านบุคลากรกับด้านวัสดุอุปกรณ์และด้านนโยบายและการวางแผนกับด้านบุคลากร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ปัจจัยด้านวัสดุอุปกรณ์ (X1) และปัจจัยด้านบุคลากร (X4) สามารถพยากรณ์การจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 ได้ร้อยละ 83.00 และเขียนสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Yˆ = 0.51 + 0.72 (X1) + 0.20 (X4) และเขียนสมการในรูปคะแนนมาตรฐาน Zˆ = 0.63 (Z1) + 0.29 (Z4)

Article Details

บท
Research article

References

กรมวิชาการ. (2550). แนวทางการจัดสารสนเทศสถานศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ.

กรมวิชาการ. (2545ก). แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กรมวิชาการ, สำนักงานทดสอบทางการศึกษา. (2551). แนวทางการจัดระบบสารสนเทศสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ.

กรมสามัญศึกษา. (2551). การจัดระบบสารสนเทศโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ: กรมสามัญศึกษา.

กรมสามัญศึกษา. (2555). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). รายงานการวิจัยแนวทางการดำเนินงานสร้างและพัฒนาศูนย์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สหกรณ์ชุมชนการเกษตรแห่งประเทศไทย.

เขมนิจ ปรีเปรม. (2554). สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกับการบริหารระบบสารสนเทศสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปฐมศึกษานครปฐมเขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ฆนัท ธาตุทอง. (2552). เทคนิคการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ์.

จันทรานี สงวนนาม. (2545). ทฤษฎีและปฏิบัติในการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัทบุ๊คพอยท์ จำกัด.

จรูญเกียรติ กุลสอน และคนอื่น ๆ. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน ในการประชุมสัมมนาวิชาการ “ราชภัฏนครสวรรค์วิจัย ครั้งที่ 1”. วันที่ 22-23 สิงหาคม 2559. นครสวรรค์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ณัฐพล ตันเจริญทรัพย์ และคนอื่น ๆ. (2553). การจัดระบบบริหารและสารสนเทศภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ดนุชา อาชามาส. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการควบคุมภายในระบบสารสนเทศการ ประปานครหลวง. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ดาวใจ วงศิลา. (2559). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการจัดระบบสารสนเทศในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยบูรพา.

ทิพวรรณ หอมพูล. (2552). เทคนิคการค้นหาข้อมูลการเขียนรายงานและการใช้ห้องสมุด.กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.

ธิราลักษณ์ ธีรวัจณนาภา. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้คอมพิวเตอร์ของบุคลากรครูในโรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานเอกชน จังหวัดนนทบุรี. สารนิพนธ์ กศ.ม. สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นิศารัตน์ เชาว์ปรีชา. (2557). การพัฒนาการบริหารระบบสารสนเทศโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต1. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย.

นิพรัตน์ วรรณคำ. (2550). การศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นันทภรณ์ ชุมนวล (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาไปปฏิบัติ: กรณีศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากระบี่. ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชานโยบายสาธารณะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนรินทรวิโรฒ.

บุญชม ศรีสะอาด (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น.

ปานิศรา คล้ายเจริญ. (2554). การศึกษาปัญหาการใช้ระบบสารสนเทศงานบุคลากรของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปิยะรัตน์ วงศ์เติง. (2551). การดำเนินงานระบบสารสนเทศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 1. การศึกษาค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปรานิสา ทองอ่อน. (2556). เทคโนโลยีสารสนเทศ. [Online]. Available:http://www.seekan.ac.th/it_com/lesson_01_2.html. [2556, มีนาคม 12].

พุธารักษ์ ปลั่งแสงมาส. (2551). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการใช้ระบบงาน leWf หรือ Image-enabled Workflow Application ของศูนย์ปฏิบัติการเอกสารสัญญาธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ). คณะพาณิชศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พรนภา โพธิ์ศรี. (2552). การจัดระบบเพื่อการบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.

ไพฑูรย์ คงทอง. (2552). ประสิทธิภาพด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ไพรัช ธัชยพงษ์ และ พิเชฐ ดุรุงคเวโรจน์. (2551). เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ:สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

ไพโรจน์ กลิ่นกุหลาบ. (2551). คุณภาพเริ่มจากผู้บริหาร. วารสารบริหารการศึกษา (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ), 1(1), 12-13.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2550). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3).กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ภิญโญ สาธร. (2552). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2551). การบริหารงานวิชาการสถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (พิมพ์ครั้งที่2).กรุงเทพฯ: ลาดพร้าวพิมพ์.

วาสนา บุณยศิริ. (2552). การศึกษากรอบสมรรถภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหาร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วชิระ ปัญญาวรากร. (2551). ระบบสารสนเทศกับงานธุรกิจ “ไมโครคอมพิวเตอร์”. กรุงเทพฯ:ม.ป.ท.

วิเชียร วิทยาอุดม. (2548). การพัฒนาองค์กร. กรุงเทพฯ: บริษัทธนรัชการพิมพ์ จำกัด.

วรรัตน์ อภินันท์กูล. (2551). แนวคิดและทฤษฎีน่ารู้ทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิไลวรรณ เสริมรัมย์. (2550). การศึกษาการจัดระบบสารสนเทศในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วิไลพร ใหม่อินต๊ะ. (2555). การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

วิรัตน์ พงษ์มิตร สมชาย แก้ววังชัย และธัชชัย จิตรนันท์. (2556). การศึกษาการจัดระบบสารสนเทศในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วิสูตร วรสง่าศิลป์. (2552). คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและเทคโนโลยี. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.

วิจิตร อาวะกุล. (2551). เทคนิคการประชาสัมพันธ์. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัชราภรณ์ สุริยาภิวัฒน์. (2551). วิจัยธุรกิจยุคใหม่. (พิมพ์ครั้งที่5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศรีศักดิ์ จามรมาน. (2550). การใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการศึกษา. กรุงเทพฯ: อาศรมศิลป์ศาสตร์.

ศิริดา แย้มกลิ่น. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารระบบสารสนเทศของโรงเรียนกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิริรัตน์ จันมะณี. (2552). การศึกษากรอบสมรรถภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารโรงเรียนต้นแบบการพัฒนาการใช้ไอซีทีเพื่อการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศินารถ ศิริจันทพันธุ์. (2552). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี.

สุชาดา กีระนันทน์. (2551). เทคโนโลยีสารสนเทศ: สถิติ ข้อมูลในระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สัลยุทธ์ สว่างบรรณ. (2552). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ: เพียร์สันเอดดูเคชั่น.

สมาน ลอยฟ้า. (2544). ทักษะที่จำเป็นสำหรับสังคมสารสนเทศ. มนุษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579.กรุงเทพฯ:สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต1 กระทรวงศึกษาธิการ. (2559).แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2559. กำแพงเพชร: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต1.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต1 กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2560. กำแพงเพชร: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต1.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2551). คู่มือการประเมินผลภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

สำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2550). การประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

สำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2550). การบริหารข้อมูลสารสนเทศสถานศึกษา.กรุงเทพฯ: องค์การคุรุสภา.

สำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2556). การบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: องค์การคุรุสภา.

สำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2550). รายงานสำรวจสถานภาพและความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาทั่วประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2554). ระเบียบกระทรวงศึกษาว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา. กรุงเทพฯ: อักษรไทย.

สุกัญญา ฟักสกุล. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสมรรถภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครูโรงเรียนนาคประสิทธิ์ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุระพันธ์ ศิลปศาสตร์. (2554). ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

สมพิศ จำปาทิพย์. (2551). สภาพและปัญหาการใช้คอมพิวเตอร์ของบุคลากรสายบริหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

หวน พินธุพันธ์. (2554). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการศึกษา. [Online].Available:http://www.scribd.com/doc/76576227. [2556, มีนาคม/18].

อารี เสาร์บดีรักษ์. (2547). ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารระบบสารสนเทศในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

อัจฉรารัตน์ สงวนงาม. (2554). ศึกษาปัญหาการจัดการระบบข้อมูลและสารสนเทศทางการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

อรอุมา แก้วสว่าง. (2550). ศึกษาและทำการวิจัยเรื่องการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เอกรินทร์ สี่มหาศาล. (2556). กระบวนการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาแนวคิดสู่การปฏิบัติ.(พิมพ์ครั้งที่3). กรุงเทพฯ: บริษัท บุ๊คพอยท์ จำกัด.

อำนวย เดชชัยศรี. (2554). นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

อนันต์ธนา อังกินันท์. (2553). สื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์การศึกษา. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Burch Jhon G & et al. (1983). Information System: Theory and practice. New York:John Wiley&Sons.

Catheina Yi-Fang Ku. (2007). “A Critical Success Factors Study of Management Information System Downsizing : From Management Information System Managers Perspectives.” Dissertation Abstract Iternational 55. 10 : 3022-A.

Daniel Katz and Rober L. Kahn. (1978). The Social Psychology of Organizations. 2rd ed. New York: John Wiley&Sons.

David Kroenke. (2005). Management Information System. New York: Mcgraw-hill.

Jame O. Hicks, Jr. (2006). Management Information System. Singapore: WestPublishing Company.

John G. Burch and Gary Grudnitski. (1998). Information System. 5th ed. New York:John Wiley & Son, Inc.

Jo Tondeur. (2006). “ICT integration in the classroom: Challenging the potential of a school policy.” Ghent University Belgium.

Laudon, Kenneth C., and Jane P. Laudon. (2007). Management Information System:Organization and Technology. 5th ed. New York : McMillan Publishing Company.

Laudon, Kenneth C., and Jane P. Laudon. (2009). Management Information System: Organization and Technology in the Networked Enterprise. 6th ed. New Jersey: Prentice Hall.

O’Brain, James A. (2010). Management Information System. 3rd ed. Chicago McGraw-Hill Book Company.

Raymond McLeod, Jr. and George. (2010). Management Information System. 8th ed, New Jersey: Prentice Hall Engoewood Cliffs.

Richard Heeks. (2010). “Public Sector Management Information System.” Dissertation Abstract Iternational 55. 10: 3073-A.

Robert G. Murdick and John C. Munsen. (2010). MIS: Concept and Designs. 2nd ed.Z New Jersey: Prentice Hall.

Thomas James Cassidy, Jr. (2000). “Data for Decisions in Developing Education System: Analysis of a Computer-Based Education Management Information Systemin the Area Republic of Egypt,” Dissertation Abstract International 51. 9: 2936-A