การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านเมืองเก่า (ศรีอินทราทิตย์) จังหวัดสุโขทัย

Main Article Content

ธารณา สุวรรณเจริญ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 40 คน โรงเรียนบ้านเมืองเก่า (ศรีอินทราทิตย์) จังหวัดสุโขทัย ปีการศึกษา 2/2561 โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test (Dependent) ผลการศึกษาพบว่า ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก พบว่า ผลการทดสอบก่อนเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 9.98 คะแนน และหลังเรียน 27.76 คะแนน และเมื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่านักเรียนมีพัฒนาการด้านทักษะการเขียนภาษาอังกฤษที่ดีขึ้นเนื่องจากคะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

How to Cite
ธารณา สุวรรณเจริญ. (2022). การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านเมืองเก่า (ศรีอินทราทิตย์) จังหวัดสุโขทัย. วารสารครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, 5(9), 19–28. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/EJFE/article/view/916
บท
Research article

References

กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ.พ.ศ. 2542.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ คุรุสภาลาดพร้าว.

ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ. (2545). การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2534). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

ปรีชาญ เดชศรี. (2545). การเรียนรู้แบบ Active Learning: ทำได้อย่างไร. วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 30, 116 : 53-55.

สถาพร พฤฑฒิกุล. (2558). เอกสารประกอบการฝึกอบรม “คุณภาพนักเรียนเกิดจากกระบวนการเรียนรู้”. สระแก้ว: คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว.

สาธิต วัฒนโภคากุล. (2549). การพัฒนารูปแบบการสอนที่เน้นการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในห้องเรียนขนาดใหญ่. ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ(สหสาขาวิชา) บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุชา จันทร์เอม. (2540). จิตวิทยาทั่วไป พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

Bennui, P. (2008). A study of L1 interference in the writing of Thai EFL students.Malaysian Journal of ELT Research, 4(2), 72-102.

Bonwell, C. C., & Eison, J. A. (1991). Active Learning: Creating Excitement in the Classroom. Washington, DC.: ERIC Clearinghouse on Higher Education, George Washington University.

Cojocariu, V. M. (2010). (Inter) Active Learning-Value and Applicability. Petroleum–Gas University of Ploiesti Bulletin, Educational Sciences Series. 2010, Vol. 62 Issue 1B, p154-161. 8p. 1 Diagram.

Escola, Y. H. (1980). Certain Effects of Selected Activities of Communicative Competence Training on the Development of German : A Case Study. Dissertation Abstracts International.

Harshim, Y. (1999). Is instruction design being use in module writing? British Journal of Education technology 30(4), 141-158.

Meyers, C., & Jones, T. B. (1993). Promoting active learning: Strategies for the college classroom. San Francisco: Jossey – Bass Publisher.

Office of Distance Learning, Florida State University. (2016). Classroom and Pedagogical Techniques. Retrieved November 27, 2018 from https://bit.ly/3dLi1wk.

Rollinson, P. (2004). Thinking about Peer Review. Oxford: Oxford University Press.

Shokrpour, N. Keshavarz N., and Jafari S. M. (2013). The effect of peer review on writing skill of EFL students. Khazar Journal of Humanities and Social Sciences, 1(2), 24-35.