การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานห้องปฏิบัติการชีววิทยาด้วยระบบลีน

ผู้แต่ง

  • ศุภษิกานต์ ลบบำรุง โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
  • พีรพงศ์ บุญฤกษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร https://orcid.org/0000-0002-3677-4572
  • ทัศนีย์ บุตราช โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

คำสำคัญ:

ห้องปฏิบัติการชีววิทยา, ระบบลีน, วิทยาศาสตร์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ สารเคมี และ เพื่อลดเวลา ลดภาระและลดจำนวนในการเตรียมวัสดุวิทยาศาสตร์ สารเคมี กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 50 คน ได้มาโดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แบบวิเคราะห์ปัญหาในการจัดการห้องปฏิบัติการชีววิทยา โดยใช้สถิติทดสอบแบบที ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพการใช้งานห้องปฏิบัติการชีววิทยาสูงกว่าก่อนการพัฒนาตามระบบลีนที่ระดับนัยสำคัญ .05

References

สหธร เพชรวิโรจน์ชัย. (2565). 5 หลักการระบบลีน (LEAN) วิธีการใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพองค์กร. สืบค้นได้จาก URL: https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/lean-management-210621/

Akbulut, Y., Usubütün, A., Durur, F., & Kutlu, G. (2023). Reducing turnaround time in a pathology laboratory using the lean methodology. International Journal of Lean Six Sigma, 14(3), 520–533. https://doi.org/10.1108/ijlss-12-2021-0213

Clark, D. M., Silvester, K., & Knowles, S. (2013). Lean management systems: creating a culture of continuous quality improvement. Journal of Clinical Pathology, 66(8), 638–643. https://doi.org/10.1136/jclinpath-2013-201553

De Oliveira Souza, R., & Galhardi, A. C. (2022). O Lean Manufacturing na otimização de processos produtivos / Lean Manufacturing in productive process optimization. Brazilian Journal of Development, 8(3), 17203–17216. https://doi.org/10.34117/bjdv8n3-114

Khodayari, H., Ommi, F., & Saboohi, Z. (2021). Multi-objective optimization of a lean premixed laboratory combustor through CFD-CRN approach. Thermal Science and Engineering Progress, 25, 101014. https://doi.org/10.1016/j.tsep.2021.101014

Krektunova, V., & Savchik, E. (2022). Improvement of the production laboratory on the basis of quality management and lean production tools. CITISÈ, 31(1). https://doi.org/10.15350/2409-7616.2022.1.12

Letelier, P., Guzmán, N., Medina, G., Calcumil, L., Huencho, P., Mora, J., Quiñones, F., Jara, J., Reyno, C., Farías, J. G., Herrera, B. L., Brebi, P., Riquelme, I., & San, M. A. (2021). Workflow optimization in a clinical laboratory using Lean management principles in the pre-analytical phase. Journal of Medical Biochemistry, 40(1), 26–32. https://doi.org/10.5937/jomb0-26055

Marcelino, S. M., Lima, T. M., & Gaspar, P. D. (2023). Lean Laboratory—Designing an application of Lean for teaching and research laboratories. Designs, 7(1), 17. https://doi.org/10.3390/designs7010017

Nujoom, R., Wang, Q., & Mohammed, A. (2018). Optimisation of a sustainable manufacturing system design using the multi-objective approach. the International Journal of Advanced Manufacturing Technology/International Journal, Advanced Manufacturing Technology, 96(5–8), 2539–2558. https://doi.org/10.1007/s00170-018-1649-y

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-06-2024