An การประยุกต์ใช้หลักอคติ 4 เพื่อสร้างระบบความยุติธรรมในสังคมไทยปัจจุบัน

ผู้แต่ง

  • ดร.สงวน หล้าโพนทัน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

การประยุกต์ใช้หลักอคติ 4, ความยุติธรรม, สังคมไทยปัจจุบัน

บทคัดย่อ

การประยุกต์ใช้หลักอคติ 4 เพื่อสร้างระบบความยุติธรรมในสังคมไทยปัจจุบัน ในการสร้างความยุติธรรมโดยการลดอคติให้เกิดขึ้นได้นั้น จำเป็นต้องใช้ระยะเวลา และการดำเนินการที่มีหลักการ มีเป้าหมาย มีระเบียบแบบแผน และมีกลไกในการขับเคลื่อนที่ตกผลึกแล้ว เพื่อให้เกิดความเข้าใจ เข้าถึงสาเหตุของปัญหา การร่วมกันหาแนวทางแก้ไข รวมทั้งการป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นซ้ำ ทั้งนี้ยังต้องอาศัยรูปแบบการแก้ปัญหาอคติด้วยการนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาเข้ามาประยุกต์ใช้ เพื่อปรับเปลี่ยนความคิด ความเชื่อ ความรู้สึกที่มีอคติต่อกัน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการ ลด ละ ความเป็นอคติในจิตใจของตน เพื่อการอยู่ร่วมกันภายในสังคมอย่างเข้าใจกันและกันบนแตกต่างได้อย่างสันติ ผลที่เกิดจากอคตินั้นได้ส่งผลต่อสังคมไทยในปัจจุบัน และกระทบต่อประเทศชาติ เพราะอคติมีผลต่อความขัดแย้ง การจะลดอคติได้นั้นจะต้องเกิดขึ้นจากสภาวะทางจิตใจที่ยอมลด ละ ความคิดความถือดีต่อกัน ดังจะเห็นได้จากสถานการณ์ของประเทศไทยที่ผ่านมา คนไทยเกิดความไม่ลงรอยกันของคนในสังคมทั้งด้านความคิด ความเห็นที่แตกต่างกัน ความรู้สึก ความเชื่อ ทัศนคติที่ต่างกันไป จนสู่ความขัดแย้ง ความไม่เป็นธรรม การแบ่งพรรคแบ่งพวก จนกระทั่งขาดความสามัคคี ซึ่งปัญหาดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบต่อตนเอง และสังคม จึงทำให้เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ และไปต่อได้ยาก ดังนั้น การประยุกต์ใช้หลักอคติ 4 เพื่อสร้างระบบความยุติธรรมในสังคมไทยปัจจุบัน เพื่อปรับเปลี่ยนความคิด ความเชื่อ ความรู้สึกที่มีอคติต่อกัน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการ ลด ละ ความเป็นอคติในจิตใจของตน เพื่อการอยู่ร่วมกันภายในสังคมอย่างเข้าใจกันและกันบนแตกต่างได้อย่างสันติอย่างแท้จริง

คำสำคัญ : การประยุกต์ใช้หลักอคติ 4, ความยุติธรรม, สังคมไทยปัจจุบัน

References

กรีนเบิร์ก, J. (1987). อนุกรมวิธานของทฤษฎีความยุติธรรมในองค์กร Academy of Management Review, 12, 9-22.

ปิ่น มุทุกันต์ พันเอก. (2538). แนวสอนธรรมะตามหลักสูตรนักธรรมตรี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย.

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2558). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏก 2500. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

________. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

________. (2532). อรรถกถาภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาอฏฺฐกถา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. โรงพิมพ์วิญญาณ.

_________. (2553). อรรถกถาภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อดัมส์เจเอส (2506) สู่ความเข้าใจในความไม่เท่าเทียมกัน Journal of Abnormal and Social Psychology , 67 , 422–436

อดัมส์เจเอส (2508). ความไม่เท่าเทียมกันในการแลกเปลี่ยนทางสังคม ใน L. Berkowitz: (Ed.) ความก้าวหน้าในจิตวิทยาสังคมเชิงทดลอง. (เล่ม 2, หน้า 267–299) นิวยอร์ก: สำนักพิมพ์วิชาการ.

Barsky, A., & Kaplan, SA (2007). ถ้าคุณรู้สึกไม่ดีมันไม่ยุติธรรม: การสังเคราะห์เชิงปริมาณของการรับรู้ผลกระทบและความยุติธรรมขององค์กร. วารสารจิตวิทยาประยุกต์, 92, 286–295.

Barsky, A., Kaplan, SA, & Beal, DJ (2011). แค่ความรู้สึก? บทบาทของผลกระทบในการสร้างการตัดสินความเป็นธรรมขององค์กร วารสารการจัดการ, 37, 248–279.

Latham, GP, & Pinder, CC (2005). ทฤษฎีแรงจูงใจในการทำงานและการวิจัยในรุ่งอรุณของศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด Annual Review of Psychology, 56 , 485–516.

Carroll, AB (1999). ความรับผิดชอบต่อสังคม. ธุรกิจและสังคม , 38, 268–295.

Rupp, DE, Ganapathi, J., Aguilera, RV, & Williams, CA (2006) ปฏิกิริยาของพนักงานต่อความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร: กรอบความยุติธรรมขององค์กร วารสารพฤติกรรมองค์กร, 27, 537–543.

Leventhal, GS (1980). ทฤษฎีความเสมอภาคควรทำอย่างไร? แนวทางใหม่ในการศึกษาความเป็นธรรมในความสัมพันธ์ทางสังคม ใน K. Gergen, M. Greenberg, & R. Willis (Eds.), การแลกเปลี่ยนทางสังคม: ความก้าวหน้าทางทฤษฎีและการวิจัย, (หน้า 27–55) นิวยอร์ก: Plenum Press.

Bies, RJ, & Moag, JF (1986) ความยุติธรรมเชิงปฏิสัมพันธ์: เกณฑ์การสื่อสารของความเป็นธรรม ใน RJ Lewicki, BH Sheppard และ MH Bazerman (Eds.), การวิจัยเกี่ยวกับการเจรจาในองค์กร (Vol. 1, pp. 43–55) Greenwich, CT: JAI Press.

Tabibnia, G., Satpute, AB, & Lieberman, MD (2008). ด้านสว่างของความเป็นธรรม: การตั้งค่าความยุติธรรมเปิดใช้งานวงจรรางวัล (และการเพิกเฉยต่อความไม่ยุติธรรมจะเป็นการเปิดใช้งานวงจรควบคุมตนเอง) Psychological Science, 19 , 339–347.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-24

How to Cite

หล้าโพนทัน ส. (2024). An การประยุกต์ใช้หลักอคติ 4 เพื่อสร้างระบบความยุติธรรมในสังคมไทยปัจจุบัน. วารสาร มจร ภาษาและวัฒนธรรม, 4(1), 87–105. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMLC/article/view/3014