[Retrected Article] การประยุกต์ใช้การจัดการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น (Active Learning) ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
คำสำคัญ:
การจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม, การจัดการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น, การจัดการเรียนรู้เชิงรุกบทคัดย่อ
บทความนี้ถูกถอดถอนตามคำร้องขอของบรรณาธิการบริหาร
ทั้งบทความวิชาการ และงานวิจัยหลายแหล่ง ได้ระบุถึงปัญหาการเรียนภาษาอังกฤษซึ่งมีหลายปัจจัยที่ทำให้ผู้เรียนหลายคนไม่สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสาร หรือทำงานได้จริง โดยปัญหาหลักที่พบได้แก่ 1) ไม่รู้จักคำศัพท์สำหรับการใช้งานจริง 2) ไม่มีโอกาสได้ใช้ภาษาในสถานการณ์จริง 3) ขาดความรู้ด้านไวยากรณ์ จากปัญหาดังกล่าวผู้ศึกษาจึงได้นำวิธีการสอนแบบ Active Learning มาปรับใช้กับการเรียนการสอนในสถาบันกวดวิชา จึงพบว่าผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น สามารถจดจำคำศัพท์ เข้าใจความหมายและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง รวมถึงมีความมั่นใจ และกล้าแสดงออกมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติได้ จึงเห็นได้ว่าในการเรียนการสอนแบบ Active Learning จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสอนภาษาอังกฤษมากขึ้นและเกิดผลสัมฤทธิ์แก่ผู้เรียนได้มากกว่าการเรียนการสอนแบบ Passive Learning (การเรียนรู้แบบท่องจำ)
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). บทบาทของครูในการเรียนรู้แบบ Active Learning. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID= 12972&Key (2561, ธันวาคม 2561).
จิตณรงค์ เอี่ยมสำอางค์. (2558). Active Learning แนวทางการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียน ในยุคศตวรรษที่ 21. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://chitnarongactivelearning.blogspot.com (2562, 9 มกราคม).
ณัชนัน แก้วชัยเจริญกิจ. (2550). ภาวะผู้นำและนวัตกรรมทางการศึกษา: บทบาทของครูกับ Active Learning. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.pochanukul.com. (2554, 22 มีนาคม).
ดิเรก พรสีมา.(2559). ครูไทย 4.0. กระทรวงศึกษาธิการ. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID (2562, 5 มกราคม).
ดุษฎี โยเหลา และคณะ. (2557). การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ที่ได้จากโครงการสร้าง ชุดความรู้เพื่อสร้างเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชน: จากประสบการณ์ความสำเร็จของโรงเรียนไทย. กรุงเทพฯ: ทิพย์วิสุทธิ์.
เดชดนัย จุ้ยชุ่ม, เกษรา บ่าวแช่มช้อย และศิริกัญญา แก่นทอง. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง ทักษะการคิดของนักศึกษาในรายวิชา ทักษะการคิด (Thinking Skills) รหัสวิชา 11-024-112 ประจำภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2558 ด้วยการ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning). คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.
ทิศนา แขมมณี. (2551). รูปแบบการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
บัณฑิต ทิพากร. (2550). “การพัฒนาคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา”. ใน ไพทูรย์ สินลารัตน์ บรรณาธิการ อาจารย์มืออาชีพ: แนวคิด เครื่องมือ และการพัฒนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เยาวเรศ ภักดีจิตร. (2557). Active Learning กับการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. นครสวรรค์: สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
วิทวัส ดวงภุมเมศ และวารีรัตน์ แก้วอุไร. (2560). การจัดการเรียนรู้ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ด้วยการ เรียนรู้อย่างกระตือรือร้น. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 11(2), 1-4.
สถาพร พฤฑฒิกุล. (2558). เอกสารประกอบการฝึกอบรม “คุณภาพผู้เรียนเกิดจากกระบวนการ เรียนรู้”. สระแก้ว: คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว.
สุพรรณี ชาญประเสริฐ. (2557). Active Learning: การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. นิตยสาร สสวท. 42(188), 3-6.
วารินท์พร ฟันเฟื่องฟู การจัดการเรียนรู้ Active Learning ให้สำเร็จ
Bonwell, C. C., & Eison, J. A. (1991). Active Learning: Creating Excitement in the Classroom. ASHE-ERIC Higher Education Report No. 1. Washington, D.C.: The George Washington University, School of Education and Human Development.
Center for Teaching Innovation. (2562). [Online], Available: http://www.cte.cornell.edu (2019, 25 January).
Ewell, P. T. (1997). Organizing for Learning: A new Imperative. AAHEA Bulletin American Association for Higher Education. 50(4), 3-6.
Felder, R. & Brent, R. (1996). Navigating the Bumpy Road to Student-Centered Instruction. Journal of College Teaching. 44(2), 43-47.
Fink, L. D. (1999). Active Learning. [Online], Available: http://www.honolulu. hawaii.edu/intranet. (2017, 21 January).
Gifkins, J. (2015). What Is ‘Active Learning’ and Why Is It Important?. E-International Relations. [Online], Available: http://www.eir.info/2015/10/08/what-is-active learning-and-why-is-it-important. (2019, 23 January).
Johnson, D. W. (1991). Cooperation in the Classroom. American Psychological Association.
Mckinney, S. E. (2008). Developing Teachers for High-Poverty Schools: The Role of the Internship Experience. Urban Education. 43(1), 68-82. [Online], Available: http://www.eric.ed.gor (2018, 2 January).
Meyers, C., & Jones, T. B. (1993). Promoting Active Learning: Strategies or the College Classroom. San Francisco: Josey-Bass Publishers.
Shenker, J. I., Goss, S. A., & Bernstein, D. A. (1996). Instruction’s Resource Manual for Psychology: Implementing Active Learning in the Classroom. [Online], Available: http://www.s.psych/uiuic.edu/~jskenker/active.html. (2019, 23 January).
Standford Teaching Commons. (2015). Course Design Overview. [Online], Available: https://teachingcommons.stanford.edu (2018, 3 December).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสาร มจร ภาษาและวัฒนธรรม

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.