ธรรมบทวิเคราะห์ : ชีวิตของ “โฆสกะผู้ฆ่าไม่ตาย” การใช้ความรุนแรงเพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์จากความเชื่อ

ผู้แต่ง

  • พระปลัดระพิน พุทธิสาโร คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาจุฬาลงกรณราขวิทยาลัย
  • มัลลิกา ภูมะธน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์
  • ดิเรก ด้วงลอย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์

คำสำคัญ:

โฆสกะ, ความรุนแรง, ความเชื่อและสิ่งเชื่อ

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เรื่องในธรรมบท ที่เกี่ยวกับประวัติชีวิตของ โฆสกะ ที่มีประวัติชีวิตที่ยากผ่านความรุนแรงหลายขั้นตอนดังปรากฏในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ใช้การศึกษาผ่านเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทความและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า ความรุนแรงโดยมีฐานคิดจากความเชื่อ ได้กลายเป็นความรุนแรงต่อชีวิตและสมาชิกในครอบครัว ดังกรณีการทารุณทารก การทิ้งตั้งแต่แรกเกิด และความรุนแรงจากการแย่งชิงทรัพย์สิน ดังปรากฏเป็นภาพข่าวในปัจจุบัน ในครั้งพุทธกาล โฆษกะจึงเป็นสัญลักษณ์ของความรุนแรงในครอบครัวที่สงผลกระทบต่อชีวิตเด็กและสวัสติภาพเด็ก ซึ่งแนวทางแก้ไข คือการยุติความรุนแรงโดยการยกเลิกค่านิยมที่ผิดหรือชุดความเชื่อตามคำทำนาย ยึดค่านิยมของความรวยด้วยวิธีการที่ไม่ถูกต้อง

References

กิ่งกานต์ แก้วฟั่น. (2550). ความรุนแรงในครอบครัว: กรณีศึกษาแรงงานสตรีโรงงานในอำเภอสารภี

เชียงใหม่ ต่อการใช้ความรุนแรงของคู่สมรส (สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต).

เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ชาญณรงค์ บุญหนุน. (2019). ไม่มีคำถามสำหรับมาคันทิยา : พินิจความเป็นธรรมผ่านความเงียบ

ของเหล่าภิกษุในอรรถกถาธรรมบทเรื่อง “วิฑูฑภะ” และ “สามาวดี. วารสารสงขลา

นครินทร์|ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 25 (1),159-192.

ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์. (2561). ความรุนแรงในครอบครัว: การวิเคราะห์สาเหตุและการป้องกันปัญหาใน

สังคมไทย. วารสารพฤติกรรมศาสตร์. 24 (2), 1-20.

พระมหาเชาวฤทธิ์ นรินฺโท (ทรัพย์สวัสดิ์). (2560). การศึกษากระบวนการเจริญเมตตาของพระนาง

สามาวดี (สารนิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระระพิน พุทฺธิสาโร (ด้วงลอย). (2554). ความรุนแรงครั้งพุทธกาล: กรณีการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ศาก

ยวงศ์ (สารนิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พัชรินทร์ นินทจันทร์ และคณะ. (2554). การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเพื่อป้องกันความ

รุนแรงในครอบครัว. วารสารพยาบาลรามาธิบดี. 17 (3), 444-462.

วนิดา ฉายาสูตบุตร. (2550). การศึกษาวิเคราะห์บทบาทของพระนางสามาวดีที่ปรากฏในคัมภีร์

พระพุทธศาสนาเถรวาท (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงราชวิทยาลัย.

วสมน ทิพณีย์. (2558). การแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวตามแนวพุทธธรรม. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร. 7 (1), 51-60.

วุฒิไชย ทองเสภี. (2560). ปัญหาผู้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความ รุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550: ศึกษากรณีการรับโทษตามกฎหมายอื่น. วารสารนิติศาสตร์

และสังคมท้องถิ่น. 1 (29), 95-118.

ศิลป์ชัย เชาว์เจริญรัตน์. (2558). จีนกับนโยบายลูกสองคน. สืบค้น 30 พฤศจิกายน 2558. จาก

Facebook: https://www.facebook.com/dr.sinchai.chaojaroenrat/photos/

np.1448853013823383.100001325204141/1019295918115924/?type=3&notif_t=

notify_me_page.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (2561). สถิติความรุนแรงปี 61

'7 เดือน' 367 ข่าว สูงสุดในรอบ 3 ปี. สืบค้นเมื่อ 7 ตุลาคม 2562,

จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/44211-สถิติความรุนแรงปี%

%20%277%20เดือน%27%20367%20ข่าว%20สูงสุดในรอบ%203%20ปี.html

สุกิจ อยู่ในธรรม และประณต นันทิยกุล. (2559). การบริหารจัดการเพื่อคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วย

ความรุนแรงในครอบครัวของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์.

(3), 333-342.

ASTV ผู้จัดการสุดสัปดาห์. (2557). ปิดฉากมรดกเลือดตระกูลธรรมวัฒนะ. สืบค้น 15 เมษายน 2556.

จาก https://mgronline.com/daily/detail/9570000087588

ASTVสุดสัปดาห์. (2557). อึ้ง! คดีสุดสลด “ทรพีฆ่ายกครัว” 3 ศพ สะท้อนภูมิคุ้มกันครอบครัว

บกพร่อง-ทาสทุนนิยม. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2565. จาก https://mgronline.com/crime/detail/9570000028917

Alpermann, Björn, and Shaohua Zhan. (2019). "Population planning after the one-

child policy: shifting modes of political steering in China." Journal of Contemporary China 28.117 (2019): 348-366.

BBC News. (2565). รัสเซีย ยูเครน : ทหารยูเครนเตรียมตัวสู้ศึกทัพรัสเซียที่ดอนบาส. สืบค้นเมื่อ

เมษายน 2565. จาก https://www.bbc.com/thai/international-61105840

Charney, Michael W. (2006). Powerful Learning: Buddhist Literati and the Throne in

Burma's Last Dynasty, 1752–1885. Ann Arbor: University of Michigan.

Cai, Yong; Feng, Wang (2021). "The Social and Sociological Consequences of China's

One-Child Policy". Annual Review of Sociology. 47(1)

Dhammasami, Khammai (2018). Buddhism, Education and Politics in Burma and Thailand: From the Seventeenth Century to the Present. Bloomsbury Publishing.

Friedman, Thomas L. (1990). "Confrontation in the Gulf: Behind Bush's Hard Line; Washington Considers a Clear Iraqi Defeat to Be Necessary to Bolster Its Arab Allies". The New York Times. New York. pp. A1. สืบค้นเมื่อ 16 September 2010. http://www.nytimes.com/1990/08/22/world/confrontation-gulf-behind-bush-s-hard-line-washington-considers-cleariraqi.html?scp=1&sq=Confrontation+in+the+Gulf%3A+Behind+Bush%27s+Hard+Line&st=nyt

Hardee-Cleveland, Karen (1988). Family Planning in China: Recent Trends, Volume 3.

Center for International Research, U.S. Bureau of the Census.

Levi, Ken (1982). Violence and Religious Commitment: Implications of Jim Jones's

People's Temple Movement. Penn State University Press.

Mia Bloom. (2007). Female Suicide Bombers: A Global Trend. The MIT Press on

behalf of American Academy of Arts & Sciences. 136 (1),94-102. https://www.jstor.org/stable/20028092?seq=1

Mikulaschek, Christoph and Jacob Shapiro. (2018). Lessons on Political Violence from

America's Post-9/11 Wars. Journal of Conflict Resolution. 62(1): 174–202.

Thomas Gibbons-Neff (2016). "U.S. Special Operations forces begin new role

alongside Turkish troops in Syria". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ 16 September 2016. https://www.washingtonpost.com/news/checkpoint/wp/2016/09/16/u-s-

special-operations-forces-begin-new-role-alongside-turkish-troops-in-syria/

Zamora López, Francisco, and Cristina Rodríguez Veiga. (2020). "From One Child to

Two: Demographic Policies in Chin

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30

How to Cite

พุทธิสาโร พ., ภูมะธน ม. ., & ด้วงลอย ด. . (2022). ธรรมบทวิเคราะห์ : ชีวิตของ “โฆสกะผู้ฆ่าไม่ตาย” การใช้ความรุนแรงเพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์จากความเชื่อ. วารสาร มจร ภาษาและวัฒนธรรม, 2(1), 26–38. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMLC/article/view/372