สังคมบากหน้า: เมื่อความจริงถูกมองข้ามและการเร้นลวงความจริงเติบโต

ผู้แต่ง

  • ดิเรก ด้วงลอย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์
  • มัลลิกา ภูมะธน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์
  • พระปลัดระพิน พุทธิสาโร คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาจุฬาลงกรณราขวิทยาลัย

คำสำคัญ:

สังคมบากหน้า, ความจริง, ความลวง

บทคัดย่อ

บทความนี้เขียนเพื่อสะท้อนคิดต่อพฤติกรรม “บากหน้า” ซึ่งเป็นกระบวนการและพฤติกรรมที่ต้องใช้ความอดทนเพื่อฝืนทนและให้ผ่านต่อสถานการณ์ที่ยากลำบากของคนหนึ่ง ๆ ใช้การศึกษาผ่านเอกสาร งานวิจัย และการสังเกตผ่านปรากฏการณ์ทางสังคม เขียนเป็นความเรียงในรูปแบบบทความวิชาการ ข้อสังเกตจากการค้นคว้าทางวิชาการ พบว่า พฤติกรรมบากหน้าพฤติกรรมที่ต้องใช้ความอดทน ใช้ความพยายามที่จะรักษาความมั่นคงของจิต ความคิดและการกระทำให้สอดคล้องกัน เป็นพฤติกรรมแห่งการทำงานของจิตที่ก่อให้เกิดความต่อเนื่องจนกลายเป็นสภาวะที่ต้องทน หรือทนอยู่ในอาการแห่งความเป็นจริงที่ต้องรับอยู่กับสภาพนั้น ๆ อย่างเหมาะสม ผู้ไม่อาจบากหน้า อาจใช้ความรุนแรงในการยุติแก้ปัญหานั้น เช่น การฆ่าตัวตาย การใช้ความรุนแรงเพื่อยุติความรุนแรงทางความคิดนั้น จนกระทั่งกลายเป็นปัญหาอาชญากรรมไปก็มี ข้อเสนอจากการค้นคว้าต่อการยอมรับความฝืนทนที่เรียกว่าบากหน้านี้ คือการนำแนวทางการปรับจิต รักษาใจ เปลี่ยนความคิดตามแนวพระพุทธศาสนา ใช้หลักขันติธรรม (ความอดทน) โลกธรรม (สรรพสิ่งล้วนเป็นของคู่กัน) และอนิจจธรรม (สรรพสิ่งล้วนเปลี่ยนแปลงไม่นิรันดร์) เพื่อเปลี่ยนให้เป็นมุมคิดในการก้าวข้ามความ ฝืนทนเป็นสังคมบากหน้า หน้าด้าน และภาวะที่เปลี่ยนผ่านไปได้ในที่สุด

References

กาญจนา บุญยัง. (2559). การฆ่าตัวตายของชาวนาในสังคมไทย: กรณีวิเคราะห์จากข่าวหนังสือพิมพ์.

วารสารการบริหารท้องถิ่น. 9 (1),1-17.

ข่าวสังคม TNEWS. (2565). เสียงเชียร์อื้ออึง แฟนคลับ กาโตะ ตื่นเต้น ได้เห็นตัวจริง แห่ขอถ่ายรูป

สนั่น. สืบค้น 5 พฤษภาคม 2565. จาก https://www.tnews.co.th/social/565554

ข่าวสดออนไลน์. (2564). อดีตพระพรหมสิทธิ พร้อมพระ 4 รูป คืนสู่สมณเพศวัดสระเกศ หลังหลุดคดี

ทุจริต. สืบค้น 15 เมษายน 2565. จาก https://www.khaosod.co.th/around-

thailand/news_6328449

จ่าสิบเอกสมศักดิ์ แย้มจันทึก. (2562). ศึกษาวิเคราะห์ขันติธรรมที่ปรากฏในจันทชาดก. วารสารนิสิตวัง.

(1),28-34.

ธีรพงษ์ ธงหิมะ. (2562).ประสิทธิผลของโปรแกรมป้องกันการฆ่าตัวตายในผู้สูงอายุ ที่มีภาวะซึมเศร้าใน

ชุมชน.วารสารการพยาบาล การสาธารณสุข และการศึกษา.20 (2),105-118.

ทรงพล นาคเอี่ยม. (2550). การเปลี่ยนแปลงของความหลากหลายในเชิงศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวไทย : กรณีศึกษามวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (พลศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ไทยรัฐออนไลน์. (2558). ชีวิตไร้คนช่วย ตกอับ-หมดตัว 'เสี่ยอู๊ด'กินยา 100 เม็ดลาโลก. สืบค้น 15

เมษายน 2565. จาก https://www.thairath.co.th/news/local/536042

บุญพิศ นัยน์พาณิช. (2015). พุทธชาตกวิทยา : การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในวิถีชาดก. วารสาร บัณฑิต

ศาส์น สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 13 (2),36-47.

ปริยศ กิตติธีระศักดิ์,เกสร มุ้ยจีน. (2015). คุณสมบัติทางจิตมิติของแบบประเมินความคิดฆ่าตัวตาย

ฉบับภาษาไทย .วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. 29 (1),93-102.

มัลลิกา ภูมะธน,พระระพิน พุทธิสาโร. (2559). พม่า : พระอึดอัดที่วัดมนูหะ การสื่อสารทางการเมือง

และตัวตน.วารสารพุทธอาเซียนศึกษา. 1 (1),57-72.

โมไนย พจน์. (2559). มรณกรรมของพระพรหมสุธี : ชาวพุทธควรมองและมีท่าที่อย่างไร ?. สืบค้น 15

เมษายน 2565. จาก http://www.oknation.net/blog/Bansuan/2016/02/06/entry-1

รจนพรรณ นันนทิทรรภ.(2559). ความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายของผู้ป่วยในหอผู้ป่วยอายุรกรรม

โรงพยาบาลนครพิงค์. วารสารสวนปรุง. 32 (1), สืบค้น 15 เมษายน 2565.

จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/APPJ/article/view/59920

ราชบัณฑิตยสถาน. (2549). สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย เล่ม ๑ อักษร ก.

กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.

วรสิทธิ์ เจริญศิลป์ และคณะ. (2562). การฆ่าตัวตายของนักศึกษากับ การปรับตัวของครอบครัว

มหาวิทยาลัยและรัฐ: การศึกษาโดยใช้ข่าวในหนังสือพิมพ์เป็นฐาน.วารสารศรีนครินทรวิโรฒ

วิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 11 (21),135-147.

วราภรณ์ ประทีปธีรานันต์. (2014). อัตราการฆ่าตัวตายและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมฆ่าตัวตาย

โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. 28 (3),90-103.

ศศิธร กันทะ,กิตติวัฒน์ กันทะ, ช่อผกา แสนคำมา. (2562). “ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัว

ตาย อำเภอจุน จังหวัดพะเยา”. วารสารวิชาการป้องกันควบคุมโรค สคร.2 พิษณุโลก.

(1),16-23.

ศิลปวัฒนธรรม. (2564). จิวยี่ แม่ทัพผู้สามารถในประวัติศาสตร์ ที่หลอกวนจ้ง ปู้ยี่ปู้ยำใน “สามก๊ก”.

สืบค้น 15 เมษายน 2564. จาก https://www.silpa-mag.com/history/article_77951

สมบูรณ์ หทัยอยู่สุข,สุพร อภินันทเวช. (2020). การฆ่าตัวตายของวัยรุ่นในประเทศไทย : อุบัติการณ์

สาเหตุและการป้องกัน. เวชบันทึกศิริราช. 13 (1),40-47.

แสวง แสนบุตร. (2559). การวิเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ของปฏาจาราเถรี ในคัมภีร์

พระพุทธศาสนาเถรวาท. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์. 16 (1),153-162.

สมิทธิพล เนตรนิมิตร. (2560). การศึกษาวิเคราะห์ชาดกในเชิงสหวิทยาการ.

วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. 13 (3), 1-15.

เสรี พงศ์พิศ. (2564). จุดเทียนสักเล่มดีกว่านั่งด่าความมืด. สืบค้น 1 พฤษภาคม 2565.

จาก https://siamrath.co.th/n/309444

Japan Info. (2017). เซ็ปปุกุ (ฮาราคีรี): การจบชีวิตอย่างสมเกียรติของนักรบซามูไร.

สืบค้น 15 เมษายน 2565, จาก https://jpninfo.com/thai/2613

MGR Online. (2564). นักข่าวหนุ่มใหญ่หอบหลักฐานแฉพระระดับ ผช.เจ้าอาวาสวัดดังเชียงใหม่สร้าง

โลกสองใบ กลางวันห่มเหลือง-กลางคืนเป็นโยม. สืบค้น 1 พฤษภาคม 2565.

จาก https://mgronline.com/local/detail/9640000100884

Thai PBS. (2561). วิกฤต "วัดสระเกศฯ" หลังสิ้นยุค "สมเด็จเกี่ยว". สืบค้น 15 เมษายน 2565.

จาก https://news.thaipbs.or.th/content/272434

Thongtha Chistensen. 24 สิงหาคม 2558 (02.58), สัมภาษณ์.

Wikipedia. (2022). Caroline Matilda of Great Britain. Retired April 15,2022. from

https://en.wikipedia.org/wiki/Caroline_Matilda_of_Great_Britain

World Health Organization. (2019). Suicide in the world : Global Health Estimates. Retired April 15,2022. from https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/326948/WHO-MSD-MER-19.3-eng.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30

How to Cite

ด้วงลอย ด. ., ภูมะธน ม. ., & พุทธิสาโร พ. (2022). สังคมบากหน้า: เมื่อความจริงถูกมองข้ามและการเร้นลวงความจริงเติบโต. วารสาร มจร ภาษาและวัฒนธรรม, 2(1), 39–51. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMLC/article/view/373