The Concept of Śūnyatā in Madhyamaka and Yogācāra

ผู้แต่ง

  • Kanong Paliphatrangkura Faculty of Liberal Arts, Thammasat University
  • พระมหาไวทย์ชนินทร์ มีสุวรรณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

ศูนยตา, สวภาวะ, มัธยมกะ, โยคาจาระ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดศูนยตาของมัธยมกะ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดศูนยตาของโยคาจาระ 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดศูนยตาของมัธยมกะและโยคาจาระ โดยใช้ข้อมูลจากคัมภีร์มูลมัธยมกการิกา ไตรสวภาวนิทเทส รวมไปถึงเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นหลักในการศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดศูนยตาของนิกายมัธยมกะและนิกายโยคาจาระ ผลการศึกษาพบว่าแนวคิดศูนยตาของทั้งสองนิกายนั้นมีความเหมือนกันในระดับสมมุติสัจจะ เป็นศูนยตาเพราะทุกสรรพสิ่งอาศัยกันและกันเกิดขึ้น แต่ในระดับปรมัตถ์นั้นโยคาจาระมีความเห็นว่านิพพานอันเป็นผลของการเห็นศูนยตานั้นเป็นสิ่งที่มีอยู่โดยที่ไม่ต้องอาศัยปัจจัยใดๆเกิดขึ้น เกิดจากการเห็นกระแสของวิญญาณที่บริสุทธิ์จากความเห็นว่ามีผู้รู้และสิ่งที่ถูกรับรู้อันเป็นทวิภาวะ โยคาจาระยืนยันว่านิพพานอันเป็นโลกุุตรธรรมนั้นมีสวภาวะ ในขณะที่มัธยมกะยังยืนยันความเป็นสิ่งอาศัยกันและกันเกิดขึ้นแม้กระทั่งนิพพาน หมายถึงว่าแม้แต่นิพพานก็ไม่สามารถเกิดขึ้นได้เองอย่างอิสระ ต้องอาศัยปัจจัยเกิดขึ้น ไม่มีสวภาวะ

References

กนกวรรณ กรุณาฤทธิโยธิน. (2561). ศึกษาวิเคราะห์อาลยวิชญาณตามแนวคิดของพุทธปรัชญาสำนักโยคาจารในทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท. อยุธยา. ดุษฎีนิพนธ์หลักสูตรพุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

นาคารชุนะ. (2565). มูลมัธยมกการิกา. โสรัจจ์ หงส์ลดารมภ์ แปล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธิพันดารา.

ปีเตอร์ เดลลา สันตินา. (2561). ต้นไม้แห่งโพธิ. สมหวัง แก้วสุฟอง แปล. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์โพธิบัณณ์.

พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. เล่ม 12, เล่มที่ 16. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.

พระนาคารชุนะ. (2478). รัตนาวลี. พระสารประเสริฐ (ตรี นาคประทีป) แปล. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร.

มหาอำมาตย์จตุรงคพล. อภิธานัปปทีปิกาฎีกา. (2527). พิมพ์ครั้ง 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เทคนิค.

สุมาลี มหณรงค์ชัย. (2548). พระนาคารชุนะกับคำสอนว่าด้วยทางสายกลาง. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ศยาม.

สุมาลี มหณรงค์ชัย. พุทธศาสนามหายาน.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์ศยาม : 2550

Garfield, Jay L. (1995). The Fundamental Wisdom of the Middle Way: Nāgārjuna’s Mūlamadhyamakakārikā. New York: Oxford University Press.

Harris, Ian Charles. (1991). The Continuity of Madhyamaka and Yogacara in India Mahayana Buddhism. The Netherlands.

Herman, A.L. (1983). An Introduction to Buddhist Thought. Lanham: University Press of America.

Liu, Ming-Wood. (1985). The Mind-Only Teaching of Ching-ying Hui-yüan: An Early Interpretation of Yogacara Thought in China. Hawaii: University of Hawaii Press.

Nagao, Gadjin M. (1989) The Foundational Standpoint of Madhyamika Philosophy. New York: State University Of New York Press.

Nagao, Gadjin M. (1991). Madhyamika and Yogacara: A Study of Mahayana Philosophies. New York: State University Of New York Press.

Nhat Hahn, Thich. (2001). Transformation at the base. California: Parallax Press.

Ruegg, David Seyfort. (1981). The Literature of the Madhyamaka School of Philosophy in India. Wiesbaden: Harrassowitz.

Siderits, Mark. (2007). Buddhism as Philosophy: An Introduction. Indianapolis: Hackett Publishing.

Takakusu, Junjiro. (1949). The Essentials of Buddhist Philosophy. Honolulu: Asia Publishing House.

Westerhoff, Jan. (2009). Nagarjuna’s Madhyamaka: a philosophical introduction. New York: Oxford University Press.

Williams, Paul. (2009). Mahayana Buddhism: The Doctrinal. (2nd ed.). New York: Routledge.

Wood, Thomas E. (2009). Mind Only: A Philosophical and Doctrinal Analysis of The Vijananavada. New Delhi: Motilal Banarsidass Publisher Private Limited.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-12

How to Cite

Paliphatrangkura, K., & มีสุวรรณ พ. (2025). The Concept of Śūnyatā in Madhyamaka and Yogācāra. วารสาร มจร ภาษาและวัฒนธรรม, 4(2), 1–15. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMLC/article/view/4287