วิเคราะห์ยุทธวิธีการต่อสู้โดยสันติวิธีของเชคดาวูด อัลฟาฏอนี

Main Article Content

แวยูโซะ สิเดะ
อับดุลย์ลาเต๊ะ สาและ
อิสมาแอ สาเมาะ

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ยุทธวิธีการต่อสู้โดยสันติวิธีของเชคดาวูด อัลฟาฏอนี การเก็บข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาต่าง ๆพร้อมกำหนดประเด็นหัวข้อย่อย การวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในรูปแบบรายงานเชิงพรรณนาวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดการต่อสู้ของเชคดาวูดเนื่องจากช่วงต้นรัตนโกสินทร์ได้เปลี่ยนแปลงสถานะของรัฐปาตานี จากรัฐอิสระมาเป็นรัฐที่่อยู่่ภายใต้การปกครองสยาม เชคดาวูดได้เรียนรู้เหตุการณ์ต่างที่เกิดขึ้นในเมืองปาตานี และปาตานีได้แยกออกเป็นเจ็ดหัวเมือง นับว่าเป็นยุทธศาสตร์รัฐสยามมีการแบ่งแยกและการปกครอง เพื่อให้ชนชั้นนำปาตานีอ่อนแอลงเปลี่ยนจากการมีสุลต่านที่่มีีอำนาจเด็ดขาดเพียงองค์เดียวสู่การมีเจ้าเมืองเจ็ดองค์ ให้มีสถานะอำนาจในระดับเดียวกัน ยุทธวิธีการต่อสู้โดยสันติวิธีของเชคดาวูด อัลฟาฏอนี ท่านได้เห็นการต่อสู้และการสูญเสีย จึงเปลี่ยนเป็นการต่อสู้โดยการใช้กำลังและอาวุธ เป็นการต่อสู่โดยการยกระดับวิทยาการอิสลามด้วยวิธีการแต่งหนังสือและเขียนตำราผ่านการเจรจาสันติภาพ

Article Details

How to Cite
สิเดะ แ. ., สาและ อ. ., & สาเมาะ อ. (2023). วิเคราะห์ยุทธวิธีการต่อสู้โดยสันติวิธีของเชคดาวูด อัลฟาฏอนี. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 2(2), 8–17. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jeduyru/article/view/1563
บท
บทความวิชาการ

References

กัณหา แสงรายา. (2553). "คนมลายูในโลกที่เปลี่ยนแปลง ภาพสะท้อนจากวรรณกรรมท้องถิ่น" [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2565, จาก : https://lek-prapai.org/home/view.php?id=394.

ชุลีพร วิรุณหะ. (2551). ประวัติศาสตร์จากคําบอกเล่าของชาวมลายู. กรุงเทพมหานคร: ศักดิโสภาการพิมพ์.

พุทธพล มงคลวรวรรณ. (2553). ปัตตานีและยะลาในรายงาน "ลับ" หลังญี่ปุ่นยกพลขึ้นบก วารสารรูสมิแล, 31(1), 19-36.

พีรยศ ราฮิมมูลา. (2545). บทบาทสถาบันอุลามาอฺ และการศึกษาอิสลามปัตตานีในอดีตตั้งแต่ ค.ศ.1785-1945. ปัตตานี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

วันอิฮซาน ตูแวสิเดะ. (2564). ประวัติศาสตร์ ปาตานีผ่านการมองประวัติศาสตร์แบบระยะยาว: จากเจ็ดหัวเมืองถึงสนธิสัญญาแองโกลสยาม 1909 (1808-1909). วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 17(1), 187-189.

แวยูโซะ สิเดะ อับดุลย์ลาเต๊ะ สาและ. (2555). การวิเคราะห์แนวคิดทางปรัชญาอิสลามของนักคิดมุสลิมเชคดาวูดแห่งรัฐปัตตานี. ยะลา: มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา.

เสนีย์อนุชิต ถาวรเศรษฐ. (2547). สยามประเทศไม่ได้เริ่มต้นที่สุโขทัย (พ.ศ.1202-1230). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : เอส.พี.เอาซ พริ้นติ้ง.

อารีฟีน บินจิ และคณะ. (2556). ปาตานี-ประวัติศาสตร์และการเมืองในโลกมลายู. สงขลา: มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้.

อับดุลซูกูร เด่นอะ. (2550). ชัยคฺดาวูด อัลฟฏอนี: ปราชญ์ชายแดนใต้แห่งอาเซียน [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2565, จาก https://prachatai.com/journal/2007/05/12589.

Abd Razak Mahmud. (2009). Bunga Rampai Persuratan Melayu Wilayah Timur: Sejarah. Pemikiran dan Karya. Kota Bharu Kelantan: Pustaka Aman Press SDN. Bhd.

Ahamd Fathy al-Fathoni. (2013). Ulama Besar Dari Fathoni. Kota Bharu Kelantan: Majlis Ugama Islam dan Adat Istiadat Melayu Kelantan.

H.W.M. Shaghir Abdullah. (1987). Syeikh Daud bin Abdullah al-Fathani : Penulis Islam Produktif Asia Tenggara Solo: C.V. Ramadhani, Indonesia.

Ibrahim Syukri. (2006). Sejarah kerajaan Melayu Patani. Edisi Rumi, Published published : Penerbit UKM.

Ismail Che Daud. (2012). Tokoh - tokoh Ulama’ Semenanjung Melayu (1). Kota Bharu Kelantan. Pustaka Aman Press Sdn. Bhd.: Majlis Agama Islam dan Adat Istiadat Melayu Kelantan.

Muhamad Hassan bin To’kerani Mohd. Arshad. (1968). Al-Tarikh Negeri Kedah. Dewan Bahasa Pustaka. Kemenrian pelajaran Malaysia Kualalumpur.