ทักษะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี

Main Article Content

อับดุลอาซิส ประสิทธิหิมะ
จรุณี เก้าเอี้ยน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับทักษะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี จำแนกตามเพศ อายุ ขนาดโรงเรียน และประสบการณ์การปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ ครูผู้สอนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี โดยใช้สูตรทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973 อ้างถึงใน ศิริพงษ์ พฤทธิพันธ์, 2553) จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแนวคิดของลิเคอร์ท (Likert Scale) มีค่าความเชื่อมั่นอยู่ที่ระดับ 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบค่าที (t-Test) และการทดสอบค่าเอฟ (F-Test) ถ้าพบความแตกต่างใช้วิธีทดสอบของเชฟเฟ่ (Scheffe’ Method) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับทักษะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยกเว้นทักษะการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์อยู่ในระดับปานกลาง 2) การเปรียบเทียบทักษะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนอายุ และประสบการณ์การปฏิบัติงาน โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

How to Cite
ประสิทธิหิมะ อ., & เก้าเอี้ยน จ. . (2023). ทักษะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 2(1), 1–14. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jeduyru/article/view/2031
บท
บทความวิจัย
Author Biography

อับดุลอาซิส ประสิทธิหิมะ, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Melayu Teacher

References

กณิษฐา ทองสมุทร. (2561). ทักษะการบริหารงานในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 2. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

กรรณิกา ประสมนาค. (2554). ทักษะการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สหวิทยาเขตเสรีไทย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย ปทุมธานี, 110(3), 3-10.

จรัสโฉม ศิริรัตน์. (2559). ปัญหาการติดต่อสื่อสารของบุคลากรในองค์กร: กรณีศึกษาสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารบรรณศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 9(1), 57-66.

จรุณี เก้าเอี้ยน. (2557). เทคนิคการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา กลยุทธ์และแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้บริหารมืออาชีพ. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.

จันทร์เพ็ญ ธนะฤกษ์. (2555). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ ตามความคิดเห็นของครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ชัยยนต์ เพาพาน. (2559). ผู้บริหารสถานศึกษายุคใหม่. กาฬสินธุ์: มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์.

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2553). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย ฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกรสซิฟ.

ฐิติพิรญา โพธิ์ทอง และคณะ. (2565). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(3), 90-102.

ทิพยาภรณ์ สุนา และรัตนา กาญจนพันธุ์. (พฤษภาคม 2565). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามการรับรู้ของครูกลุ่มโรงเรียนขยายโอกาส เขตลาดกระบัง สังกัดกรุงเทพมหานคร. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(10): 145.

นิเลาะ แวอุเซ็ง และคณะ. (2562). สภาพการบริหารงานวิชาการโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี. ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

นิสา แหละหีม และ สุนทรี วรรณไพเราะ. (2560). การปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล. สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

แพรดาว สนองผัน และเสาวนี สิริสุขศิลป์. (2557). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

มณฑาทิพย์ นามนุ (2561). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานีเขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

มีสบัฮ สาเม๊าะ. (2558). ทักษะการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอสิลาม จังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม. มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์.

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์. (2556). ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส.

วิจารณ์ พานิช. (2555). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.

วิไลวรรณ พ่อค้าช้าง และ รัตนา กาญจนพันธุ์. (2564). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในสหวิทยาเขตปิยมิตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(5), 14-28.

ศศิธร ชัยบูรณ์ และคณะ. (2564). การพัฒนาทักษะของผู้บริหารสถาน ศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 7(6). 271-272.

ศิริพงศ์ พฤทธิพันธุ์. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ฮาซันพริ้นติ้ง.

สงวน อินทร์รักษ์. (2555). ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเวลาเรียนให้ครบตามที่กำหนดใน หลักสูตรของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สำนักพัฒนาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (2538). พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน 2525. กรุงเทพฯ: สำนักงานเขตการศึกษา 2.

สุขุมาล เจริญรัมย์ และ กัลยมน อินทุสุต. (2565). ทักษะผู้นำในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(8), 474-475.

สุพรรษา ไตรรัตน์. (2562). การศึกษาทักษะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2552). รายงานวิจัยเรื่องสภาพการจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดน ภายใต้. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

อนุชิต โฉมศรี. (2562). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน มาตรฐานสากลในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อรชร ปราจันทร์. (2560). รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อันวารุดดีน ดอเล๊าะ. (2557). ปัจจัยสถานศึกษากับการบริหารงานวิการในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อาอิด๊ะ เจ๊ะแว. (2558). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี. ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

Baird. (2006). Skills of an Effective Administrator. Harvard: Havard Business Review.

Brown, W. B. and Moberg. D. J. (1980). Organization theory and Management: A macro approach. New York: Joho Wiley and Sons.

Drake, Thelbert L., and Roe, William, H. (1986). The Principalship. New York: Macmillan.

Griffin, Ricky W. (2013). Management Principles and Practices 11th ed. Canada: Nelson Education.

Hoyle, J. R., English, F. W., & Steffe, B. E. (2005). Skill for successful 21st-century school leaders. Maryland: Lanham.

Katz, R. L. (1955). Skills of an Effective Administration. New York: McGraw-Hill.

Katz, R. L. (1974). Skill of an Effective Administrator. Harvard Business Review. 5(3). 90-102.

Weigel, R. A. (2012). School Leadership Skill Development. Dissertation Ph.D. Thesis in Educational Leadership. Eastern Michigan University, Michigan.