กลยุทธ์และกลวิธีการรับมือความเครียด; การเลือกใช้กลยุทธ์ให้เหมาะสม
คำสำคัญ:
การรับมือความเครียด , กลยุทธ์การรับมือความเครียด, ทักษะการรับมือความเครียดบทคัดย่อ
ความเครียดหรือปัญหาเป็นสิ่งที่คนเราพบเจอจนเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันและสามารถพัฒนาความรุนแรงขึ้นได้ถ้าหากว่าคนมีการรับมือที่ไม่เหมาะสมจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรังในชีวิตต่อไปได้ การประเมินความเครียดขึ้นอยู่มุมมองของตัวบุคคลที่ตีความจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ร่วมกับประสบการณ์เดิม ทัศนคติ และบุคลิกภาพซึ่งเป็นปัจจัยส่วนบุคคล กลยุทธ์การรับมือกับปัญหาหรือความเครียดเป็นพฤติกรรมและกลวิธีทางปัญญาที่มีทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ประเภทของกลยุทธ์การรับมือความเครียดหลัก
2 ประเภท ได้แก่ การรับมือที่มุ่งแก้ไขปัญหาและการรับมือที่มุ่งแก้ไขอารมณ์
ซึ่งการเลือกใช้กลยุทธ์ในการรับมือความเครียดไม่มีวิธีใดที่ดีกว่าขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละบุคคล สถานการณ์ที่เผชิญ รวมถึงการเลือกใช้กลยุทธ์การรับมือก็สามารถเลือกใช้ได้มากกว่าหนึ่งกลยุทธ์ ประสิทธิภาพของการรับมือความเครียดเกี่ยวข้องการประเมินสถานการณ์ของปัญหาได้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงและบุคคลเลือกใช้กลยุทธ์ที่เหมาะสม
References
จันทรา อุ้ยเอ้ง และ วรรณกร พลพิชัย. (2561). การศึกษาความเครียดและวิธีเผชิญความเครียดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในอำเภอเมือง จังหวัดตรัง. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
ปัณณธร เธียรชัยพฤกษ์, พระมหาบุญรอด มหาวีโร (สืบด้วง) และ ทองอินทร์ มนตรี. (2564). การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามหลักสติปัฏฐาน 4 เส้นทางพ้นทุกข์. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 6(3), 226-236.
วิสุทธิ์ โนจิตต์ นภัสสร ยอดทองดี วงเดือน เล็กสง่า และ ปารวีร์ มั่นฟัก. (2563).
ปัจจัยทำนายความเครียดและวิธีการจัดการความเครียดของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 10(1), 118-128.
วันทนา เนาว์วัน และ อารมณ์ เอี่ยมประเสริฐ. (2563). การจัดการความเครียดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการคุณภาพชีวิตในการทำงาน. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 22(1), 223-232.
สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565, 28 ตุลาคม). รายงานภาวะสังคมไทยไตรมาสสอง ปี 2565. https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=5491&filename=socialoutlook_report
Carver, C.S. (2013). Coping. In Gellman M.D. & Turner J.R. (Eds.), Encyclopedia of behavioral medicine. Springer, Cham. https://doi.org/10.1007/978-3-030-39903-0_301731
Carver, C.S. & Connor-Smith, J. (2010). Personality and Coping. Annual Review of Psychology, 61(1), 679-704. https://doi.org/10.1146/annurev.psych.093008.100352
Carver, C.S., Scheier, M.F. & Weintraub, J.K. (1989). Assessing coping strategies: a theoretically based approach. J Pers Soc Psychol, 56(2), 267-283.
Galant, H. & Bush. F. (1982). Organizational Behavior. McGrew Hill.
Goldman, R. (2022). Healthy Coping Skills for Uncomfortable Emotions; Emotion-Focused and Problem-Focused Strategies. https://www.verywellmind.com/forty-healthy-coping-skills-4586742
Folkman, S., Lazarus, R. S., Dunkel-Schetter, C. N., Gruen, R. J., & DeLongis, A. (1986). Appraisal, coping, health status, and psychological symptoms. Journal of Personality and Social Psychology, 50(3), 571-579.
Jalowiec, A. (1982). Coping, Expectancies and Alcohol Abuse. Journal Abnormal Psychology, 4(8), 137-161.
Ben-Zur, H. (2005). Coping Distress and life events in a community sample. International Journal of Stress Management, 12(2), 188-196.
Latack, J. C. (1986). Coping with job stress: Measures and future directions for scale development. Journal of Applied Psychology, 71(3), 377–385.
Lazarus, R. S., & Folkman, S. (1984). Stress, Appraisal, and Coping. Springer Publishing.
Lazarus, R. S. & Launier, R. (1978). Stress-Related Transactions between Person and Environment. In: Pervin, L.A. & Lewis, M. (Eds)., Perspectives in Interactional Psychology, Plenum. http://dx.doi.org/10.1007/978-1-4613-3997-7_12
Pearlin, L. I., & Schooler, C. (1978). The structure of coping. Journal of health and social behavior, 19(1), 2-21.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.