Political history and context of local administration in Si Sa Ket Province
Keywords:
Political History, Political Context, Local Government, Si Sa Ket ProvinceAbstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทการเมืองการปกครองท้องถิ่นจังหวัด
ศรีสะเกษ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่เป็นนักการเมืองท้องถิ่นที่ดำรงตำแหน่งวาระทางการเมือง 2 สมัยติดต่อขึ้นไป จำนวน 20 คน พบว่า ประวัติศาสตร์การปกครองท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ
มีสถานการณ์บริบทที่คล้ายกับการปกครองท้องถิ่นทั่วไปของประเทศไทย ซึ่งในปี
พ.ศ. 2542 ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของการกระจายอำนาจการปกครองท้องถิ่นไทย ปัจจุบันบริบทการเมืองท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษมีลักษณะการเชื่อมโยงกับฐานอำนาจนักการเมืองระดับชาติ การเมืองครอบครัว และการเล่นการเมืองแบบคนดีศรีสะเกษ
วิถีเฉพาะหน้า รวมถึงกระแสคลื่นลูกใหม่ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
ในกลุ่มชาติพันธุ์และกลุ่มผู้สูงอายุ โดยมุมมองของนักการเมืองท้องถิ่นมองถึงจุดเปลี่ยน
เรื่องการใช้เงินของนักการเมืองท้องถิ่นว่าเมื่อถึงจุดหนึ่งแล้วจะเกิดการอิ่มตัวของประชาชนในการเรียกร้องให้คนทำงานเข้ามาเป็นนักการเมืองทำงานเพื่อประชาชน
อย่างแท้จริง แต่ฐานอำนาจทางการเมืองที่มีความเชื่อมโยงระหว่างกันจะยังคงฝังแฝงอยู่ในระบบการเมืองท้องถิ่นไม่เปลี่ยนแปลง หรืออาจเปลี่ยนแปลงในรูปแบบอื่น ๆ ได้
References
ดาวนภา เกตุทอง. (2563). การกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองท้องถิ่น. วารสาร มจรเพชรบุรีปริทรรศน์, 3(2), 1-24.
ปฐวี โชติอนันต์. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายใต้บริบทการกระจายอำนาจในยุครัฐบาลของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (พ.ศ. 2557–2562). วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal), 10(1), 1-22.
ประเทือง ม่วงอ่อน. (2556). นักการเมืองถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ. สถาบันพระปกเกล้า.
พิพิธภัณฑ์รัฐสภา. (2564). เรื่องเล่าการเมืองการปกครองไทย. https://parliamentmuseum.go.th/2564/ar64-election-01.html
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (ม.ป.ป.). สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ. th.wikipedia.org/wiki/สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ.
สุวัสดี โภชน์พันธุ์. (2547). สารานุกรมการปกครองท้องถิ่นไทย. https://www.m-culture.go.th/sisaket/download/2021_ActionPlan_C1.pdf
สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดศรีสะเกษ. (2564). ข้อมูลการปกครอง. https://www.ect.go.th/sisaket/ewt_news.php?nid=43&filename=index
หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ. (2564). เลือกตั้ง อบต. 2564: ท้องถิ่นที่ใกล้ชิดประชาชนที่สุดแต่การเลือกตั้งกลับ “เงียบเหงาที่สุด”. (https://www.bbc.com/thai/thailand-59385213
Kurtz, D. M. (1989). The Political Family: A Contemporary View. Sociological Perspectives, 32(3), 331–352.
Ockey, J. (2015). Thai Political Families: The Impact of Political Inheritance. https://golink.icu/VoZBUVg
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2023 Journal of Human and Society, Sisaket Rajabhat University
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.