การพัฒนาชุดฝึกทักษะ รายวิชาการงานอาชีพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ร่วมกับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้

ผู้แต่ง

  • ชัยนะรินทร์ ทับมะเริง คณะเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • ชลดา วรรณ์โน คณะเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • อุทัยวดี จู๋นางรอง คณะเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • ธนันชัย เรืองเกษม คณะเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

คำสำคัญ:

ชุดฝึกทักษะ, วิชาการงานอาชีพ, การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดฝึกทักษะรายวิชาการงานอาชีพ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) หาดัชนีประสิทธิผลของชุดฝึกทักษะรายวิชาการงานอาชีพ 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการงานอาชีพก่อนเรียนและหลังเรียน ประชากรได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสุรินทร์ราชมงคล จำนวน
2 ห้อง รวม 34 คน กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จำนวน 23 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดฝึกทักษะ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test E1/E2 และ E.I.

 ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะรายวิชาการงานอาชีพ มีค่าเท่ากับ 85.06/83.2 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2) ดัชนีประสิทธิผลของชุดฝึกทักษะ มีค่าเท่ากับ 0.7200 ซึ่งหมายความว่านักเรียนในกลุ่มตัวอย่างมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นร้อยละ 72.00 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดยใช้ชุดฝึกทักษะ พบว่า
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560). โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ.

ชัยนะรินทร์ ทับมะเริง, วรพรภัฏ ปัดภัย และอัจฉรา บุญภา. (2565). ผลการใช้ ชุดการสอนรายวิชาการงานอาชีพพื้นฐาน (งานเกษตร) สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนปรางค์กู่ อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 16(1), 28-39.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2537). “การทดสอบประสิทธิภาพชุดการสอน”. เอกสารการสอนชุดวิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา หน่วยที่ 1 – 5. มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2558). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (พิมพค์รั้งที่6). พีบาลานซ์ดีไซดแอนปริ้นติ้ง.

ทิศนา แขมมณี. (2553). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนร้ที่มีรู้ ประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่13). สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นักสิทธิ์ ปัญโญใหญ่ และชาตรี มณีโกศล. (2564). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ รู้จักธุรกิจสร้างรายได้ใช้จ่ายอย่างประหยัดและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” โดยใช้การบันทึกรายรับ-รายจ่ายของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH, 11(2), 137-148.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544).ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. สถาบันราชภัฏพระนคร.

เพ็ญศิริ หงส์งาม, พระครูปลัดมารุต วรมงฺคโล และชาติชาย พิทักษ์ธนาคม. (2566). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรายวิชาการงานอาชีพ โดยใช้กิจกรรมแนะแนว ตามหลักอิทธิบาท 4 ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จังหวัดสุพรรณบุรี. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

โรงเรียนสุรินทร์ราชมงคล. (2565). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการงานอาชีพของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. โรงเรียนสุรินทร์ราชมงคล อำเภอเมืองสุรินทร์.

ศุภวิชชา ยาทอง, ดุรงค์ฤทธิ์ เอกวงษา และชัยนะรินทร์ ทับมะเริง. (2567). ผลของการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ รายวิชาการงาน อาชีพ เรื่องงานช่างพื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนรามวิทยารัชมังคลาภิเษก จังหวัดสุรินทร์. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 9(2), 2213-2223.

สกล โกมลศรี, เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม, อำไพ สวัสดิราช และประสิทธิ์ นิ่มจินดา. (2564). การศึกษาผลจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานประดิษฐ์) เรื่องงานประดิษฐ์แสนสนุกโดยใช้ชุดฝึกทักษะประกอบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 6(2), 251 – 252.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สมิหลา นพภาลัย และกรวิภา สรรพกิจจำนง. (2565). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการงานอาชีพ เรื่องการเลือกซื้ออาหารและหลักการประกอบอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่สอนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) กับการสอนแบบปกติ. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 5(14), 72-80.

สุวัฒก์ นิยมค้า. (2531). ทฤษฎีและทางปฏิบัติในการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้. เจเนอรัลบุ๊คเซ็นเตอร์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-06-27

How to Cite

ทับมะเริง ช., วรรณ์โน ช. ., จู๋นางรอง อ. ., & เรืองเกษม . ธ. . (2025). การพัฒนาชุดฝึกทักษะ รายวิชาการงานอาชีพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ร่วมกับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 9(1), 83–104. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/4404