บทเรียนการยกระดับองค์ความรู้ทุนมรดกทางวัฒนธรรมอาหารพื้นถิ่น อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช

ผู้แต่ง

  • จิตติมา ดำรงวัฒนะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
  • วิเชียร มันแหล่ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
  • ปุณยวีร์ ศรีรัตน์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

คำสำคัญ:

บทเรียน, การยกระดับองค์ความรู้, ทุนมรดกทางวัฒนธรรม, อาหารพื้นถิ่น

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการนำเสนอเรื่องบทเรียนการยกระดับองค์ความรู้ทุนมรดกทางวัฒนธรรมอาหารพื้นถิ่น อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช “อาหารพื้นถิ่น” ของชุมชนคีรีวงมีวิถีชีวิตหากินอยู่กับป่าพึ่งพาอาศัยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ผ่านการต่อสู้กับวิกฤตธรรมชาติมานับครั้งไม่ถ้วนจนเกิดพลิกผันทำให้ยืนหยัดมาถึงปัจจุบัน ด้วยเหตุการณ์นี้ชุมชนจึงเกิดมุมมองใหม่ที่ผสมผสานกันสร้างโอกาส ความหวัง และอุดมคติด้วยการตั้งกลุ่มองค์กรขึ้นในชุมชน รวมถึงผู้นำที่ผ่านสถานการณ์วิกฤตต่าง ๆ ร่วมกับชุมชนเกิดความแข็งแกร่งและนำพาชุมชนให้กลับมาเข้มแข็ง จากต้นทุนที่ถูกสะสมด้วยกาลเวลาอันยาวนานจนกลายมาเป็นมรดกวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในชุมชน ชุมชนคีรีวงได้สะท้อนเห็นบทบาทของทุนทางวัฒนธรรมที่ทำหน้าที่สร้างการรับรู้สถานะของบุคคลในการดำรงชีวิต “อาหารพื้นถิ่น” ที่ถูกถ่ายทอดโดยผ่านเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์ร่วมกับชุมชนเพื่อให้คงอยู่เป็นวัฒนธรรมอาหารที่ยั่งยืน จึงมีการจัดการความรู้
ถอดบทเรียนโดยสกัดนำสาระสำคัญของวัฒนธรรมในชุมชนเพื่อกำหนดอัตลักษณ์ถิ่น หรือหยิบยกมาปัดฝุ่นเพื่อสถาปนาคุณค่าเดิมให้เกิดการยกระดับหนุนเสริมให้เกิดพื้นที่วัฒนธรรมที่ชุมชนร่วมกันเป็นเจ้าของ หรือเป็น “สัมภาระ” ที่ใช้ในการดำรงชีวิต กินดี อยู่ดี มีสุขบนพื้นฐานการเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิต สังคม วัฒนธรรม และการจัดการทรัพยากร ผู้วิจัยจึงได้นำทุนวัฒนธรรมอาหารพื้นถิ่นมาเชื่อมร้อยของชุมชนด้วยการมีส่วนร่วมและสร้างความภาคภูมิใจ ดังนั้น การยกระดับการพัฒนาต่อยอดและสืบทอดทุนทางวัฒนธรรมชุมชนผ่านอาหารพื้นถิ่นจากภูมิปัญญาและอัตลักษณ์ รวมทั้งให้ชุมชนเป็นผู้ประกอบการวัฒนธรรมที่ก่อเกิดเป็นรายได้อย่างยั่งยืน 

References

กรชนก สนิทวงค์. (2556). การยกระดับคุณภาพชีวิตด้วยทุนทางวัฒนธรรม: กรณีชุมชน เมืองเก่าสบสม-หาดไคร้ อำเภอเชียงของจังหวัดเชียงราย. วารสารวิจัยสังคม, 45(2), 96-116.

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย. (2561). คู่มือบริหารโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี. กรมการพัฒนาชุมชน.

กฤตวิทย์ กฤตมโนรถ และศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์. (2562). การท่องเที่ยวเชิงอาหารผ่านอัต ลักษณ์อาหารทั้ง 4 ภูมิภาค. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ, 20(2), 139-151.

จุฑามาศ วิศาลสิงห์. (2568). โครงการวิจัยแนวทางการเพิ่มคุณค่าและมูลค่าภูมิปัญญา ท้องถิ่นสู่การ ท่องเที่ยวเชิงศิลปะอาหาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.). https://researchcafe.org/rc20341.

เจตนา อินยะรัตน์ และวรรณกร พลพิชัย. (2564). อัตลักษณ์วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น เพื่อการอนุรักษ์และเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจของชาวบ้านย่านเมืองเก่า อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากงบประมาณรายได้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ประจำปี พ.ศ. 2563.

ชมพูนุช ประจักษ์สุนทร. (2549). การก่อตัวและกระบวนการประชาสังคม : กรณีศึกษา ชุมชนคีรีวง ตำบลกำโลน อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์ ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะ วิทยาการจัดการ (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ไชยฤทธิ์ อนุชิตวรวงศ์. (2561). การศึกษาแนวทางการปรับปรุงการดำเนินนโยบายการ พัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยเพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี. หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร. วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.

ณัฐธิดา เย็นบำรุง.(2568). UrbanCulture ทำไมเมืองต้องมีวัฒนธรรม. http://www.furd.in.th/cities/concepts/view/OX9E0oNpQB4v/.

ณัฏฐวุฒิ ทรัพย์อุปถัมภ์. (2558). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

นิรมล ขมหวาน. (2557). อัตลักษณ์ของชุมชนตลาดโบราณบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวไลย์อลงกรณ์ปริทัศน์, 2(4), 1-13.

มนตรี ศิริวงษ์. (2568). ประวัติศาสตร์ ชานมไข่มุก ที่โลกต้องรู้. http://www.thaismescenter.com/.

วรรณพร อนันตวงศ์ และคณะ. (2560). วิถีชีวิตและอัตลักษณ์ของชุมชนคีรีวง. ในการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9. วันที่ 20 – 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2561.

วิเชียร มันแหล่ และคณะ. (2567). การถอดบทเรียนการยกระดับองค์ความรู้ทุนมรดกทางวัฒนธรรมอาหารพื้นถิ่น อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

เรณู เหมือนจันทร์เชย. (2556). ทุนวัฒนธรรมไทยทรงดำกับการเปลี่ยนผ่านยุคสมัยของชุมชน.ดำรงวิชาการวารสารรวมบทความทางวิชาการคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 12(2), 175 – 202.

สุพรรณี ไชยอำพร และวิไลลักษณ์ รุ่งเมืองทอง. (2557). แนวคิดว่าด้วยเรื่องอาหาร...ความท้าทายต่อนโยบายด้านอาหาร มนุษย์ของรัฐ. วารสารพัฒนาสังคม, 16(2), 103-117.

สมสุข หินวิมาน. (2560). ทฤษฎีสำนักวัฒนธรรมศึกษา. เอกสารการสอนชุดวิชาปรัชญานิเทศศาสตร์ และทฤษฎีการสื่อสาร หน่วยที่ 6-10 (น 1-62). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อัจฉรา ภานุรัตน์. (2549). เอกสารคำสอนรายวิชาท้องถิ่นศึกษา. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

อัญธิชา มั่นคง. (2560). บทบาทของทุนทางวัฒนธรรมกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชน กรณีศึกษาชุมชนในตำบลบ้านตุ่น อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา. วารสารวิจัยและ พัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 12(39), 90 – 100.

Ashley, et al. (2004). Food and Cultural Studies. Routledge.

Crowder, G. (2013). Theories of Multiculturalism: An Introduction. Polity Press.

Melanie Kay Smith, et al. (2010). Key Concepts in Tourist Studies. Imprint: Los Angeles.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-06-27

How to Cite

ดำรงวัฒนะ จ., มันแหล่ ว. ., & ศรีรัตน์ ป. . (2025). บทเรียนการยกระดับองค์ความรู้ทุนมรดกทางวัฒนธรรมอาหารพื้นถิ่น อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 9(1), 1–21. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/4723