ภูมิปัญญาการใช้เหล้ายาเพื่อสุขภาพของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ออสโตรเอเชียติก

Authors

  • อุษา กลมพันธ์

Keywords:

medicated liquor, medicated liquor for health care, ethnicgroups, the AustroAsiatic languages family, ภาษาออสโตรเอเชียติก

Abstract

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการใช และสรรพคุณของเหล้ายาในวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ออสโตรเอเชียติ ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) และเชิงปริมาณ (Quatita-tive research) ทำการศึกษาในพื้นที่ 2 ประเทศ คือ ไทยและกัมพูชา ผู้ใ ข้อมูลหลักประกอบด้วย ผู้ที่ดื่มเหล้ายาเพื่อรักษาโรค และดูแลรักษ และผู้ที่เป็นหมอสมุนไพรที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องสมุนไพรดองยา จำนวน 40 คน มีวิธีการเก็บข้อมูลด้วยการวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบ ร่วมและไม่มีส่วนร่วม ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลด้วยเทคนิค สามเส้า ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์เนื้อหา (Content analy เพื่อตีความ และสรุปผลการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มชาติพันธุ์ออสโตรเอเชียติกที่อาศัย ประเทศไทยและราชอาณาจักรกัมพูชา มีวิธีการป้องกันการเจ็บป่วยโดย กลุ่มนี้มีแบบแผนการด ดำเนินชีวิตที่สร้างจากทุนทางธรรมชาติ วิถีก อาหารของกลุ่มชาติพันธุ์ออสโตรเอเชียติกในไทยและกัมพูชา ส่วนใหญ่เ อาหารที่ได้จากธรรมชาติมีการใช้สมุนไพรจากป่าเพื่อใช้ในการดูแลสุข และรักษาโรค และการดูแล และรักษาสุขภาพด้วยวิธีทางการแพทย์พื้นบ้า ทำได้ด้วยกันหลายวิธีด้วยกัน ได้แก่ การนวด การใช้ยาสมุนไพรส่วนให เป็นการต้มดื่ม และการใช้เหล้ายา เพื่อใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพ ความเจ็บ เนื่องจาก การประกอบอาชีพท ทำนา ประมง จักสาน รับจ้าง และงานก่อสร้าง ในด้านการบำบัด กลุ่มชาติพันธุ์ออสโตรเอเชียติกที่อาศัย ประเทศไทยและกัมพูชาส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท ทำนา ประมง จักสานรับจ้าง และงานก่อสร้าง ทั้งหญิงและชาย และส่งผลต่อสุขภาพจะมีอากาปวดเมื่อยตามร่างกาย จึงนิยมดื่มเหล้ายา เพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อปวดหลัง ปวดเอว บำรุงร่างกาย บำรุงกำลัง ช่วยเจริญอาหารขับนำ้คาวและกระตุ้นให้มีนำ้นมในสตรีหลังคลอด

This present research aimed: 1) to study behaviors con-cerning the utilization of medicated liquor and medicinal proper-ties of medicated liquor in the Austro-Asiatic ethnic culture. The study had been conducted quantitatively and qualitatively in the areas of 2 countries – Thailand and Cambodia. The key-inform-ants consisted of 40 people who have used medicated liquor for reasons of treatment and health care and 12 people who are an expert in extracted herbs. The data had been collected through an in-depth interview, a participatory observation, and a non-participatory observation. The collected data had been investigated using a triangulation technique. Furthermore, a content analysis was also conducted to interpret the collected data and to formulate an assumption based on the study. According to the study, it was found that the Aus-tro-Asiatic ethnic people who live in Thailand and Cambodia have their own ways to protect their health. A living pattern of these Austro-Asiatic ethnic people has been generated and developedbased the natural capital. Foods of the Austro-Asiatic ethnic people living in Thailand and Cambodia are generally found from the natural surroundings. Herbs, found in the nature, are also used by these groups of ethnic people for purposed of health care and treatment. Normally, the traditional indigenous medicine could be performed in several ways such as a massage therapy, herbal streaming, and etc. However, herbs are generally taken to boil for drinking and used to make medicated liquor for health care or healing causing from hard workings such as farming, fishing, and etc. According to therapeutic reasons, medicated liquor has been used for drinkto heal several symptoms such as backache, lumbago, and etc. Moreover, medicated liquor is also used as an aperitif, a tonic, an analeptic, or used to excrete lochia and promote lactation for postnatal care of women among the Austro-Asiatic ethnic people living in Thailand and Cambodia.

References

จันทร์กระจ่าง สีห์สรรพสวัสดิ์.(2546) สมุนไพรไทย มรดกจากภูมิปัญญา. กรุงเทพฯ : ภูมิปัญญา.

เจตน์สิริ ปูชปุณญรัศมิ์ .(2550). โสมพืชมหัศจรรย์ . กรุงเทพฯ : แพรธรรม.

ประทีป ทองเปลว.( 2544). ตำรายาไทยฉบับแผนโบราณ .กรุงเทพมหานคร : ไพลิน.

เปรม แสงแก้ว.( 2547). สมุนไพรเพื่อสุขภาพ . กรุงเทพมหานคร : ไพลิน.

ผกากรอง วัฒนาชีวิต.(2553). คัมภีร์อายุวัฒนะแผนไทย .กรุงเทพมหานคร : ไพลิน.

เรียบ พรสมิทธวิชชาการ.( 2522 ).หมอไทยยาไทย. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.

อดิศวร์ หลายชูไทย และคณะ.(2545). สุราในสังคมไทย .( พิมพ์ครั้งที่ 2 ). กรุงเทพฯ.

อดุลย์ รัตนมั่นเกษม.(2555).บุหรี่ เหล้า ชา สุขหรือทุกข์ . กรุงเทพฯ : แสงดาว.

Helman, Cecil. (2000). Culture, Health and Illness. London : Butterworth Heinemann.

Downloads

Published

27-11-2022

How to Cite

กลมพันธ์ อ. . (2022). ภูมิปัญญาการใช้เหล้ายาเพื่อสุขภาพของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ออสโตรเอเชียติก . Journal of Human and Society, Sisaket Rajabhat University, 1(1), 29–41. Retrieved from https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/510