การศึกษาความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษต่อการเรียนการสอนผ่านระบบการเรียนอีเลิร์นนิ่ง (E-Learning)

Authors

  • อนันศักดิ์ พวงอก

Keywords:

Satisfaction, Teachers and Students, Humanities and Social Sciences Sisaket Rajabhat University, E-learning

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของอ และนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ศรีสะเกษต่อการเรียนการสอนผ่านระบบ e-learning ซึ่งเป็นระบบ e-learning ที่พัฒนาขึ้นโดยอาจารย์สาขาวิศวกรรมซอฟแวร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏศรีสะเกษ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ อาจารย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่สอนผ่านระบบ e-learning 3 คน และ นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่เรียนผ่านระบบ- e-learn ing 62 คน ที่เคยเรียนเคยสอนโดยใช้ระบบนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างส ำหรับอาจารย์ และแบบสอบถามสำหรับ นักศึกษา สถิติที่ใช้ในการที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยล และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการสอนผ่านระบบ e-learning บางประการเท่านั้นโดยให้เหตุผลว่า แม้การเรียนการสอนผ่านระบบ e-learning จะมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนมาก แต่จำเป็นต้องปรับปรุงในหลาย ส่วนเพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส มากยิ่งขึ้น ข้อดีของการสอนผ่านระบบ e-learning คือเป็นเครื่องมือท ให้อาจารย์สามารถสั่งงานและให้นักศึกษาส่งงานนอกเวลาเรียนได้ แต่ก็ ข้อจำกัดบางประการและไม่ควรนำมาใช้ในทุกรายวิชา โดยเฉพาะวิชาที่สอน แบบปฏิบัติหรือรายวิชาที่สอนในด้านภาษาเนื่องจากอาจารย์กับนักศึ ไม่สามารถโต้ตอบกันได้อย่างทันท่วงทีแบบ face to face นักศึกษามีความ พึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( x̄= 3.38 S.D. = 0.71) เมื่อ จำแนกเป็นรายด้านพบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจในด้านประสิทธิภาพกา เรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง (x̄= 3.48 S.D. = 0.72) ส่วนด้านระบบบริหาร จัดการและการเข้าใช้ระบบพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( x̄= 3.53 S.D. = 0.80) เช่นเดียวกับด้านการติดต่อสื่อสาร (x̄ = 3.58 S.D. = 0.73) ปัญหาและข้อเสนอแนะของอาจารย์และนักศึกษาในการเรียนการสอนผ่านระบบ e-learning พบว่า นักศึกษามีปัญหาที่คล้ายคลึงกันคือินเทอร์เน็ตที่มีให้ใช้ในมหาวิทยาลัยไม่เพียงพอ ไม่ครอบคลุมตามห้อในแต่ละอาคารเรียน ทำให้การเรียนผ่านระบบ e-learning เกิดการสะดุดไม่ต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องกับข้อเสนอแนะของนักศึกษาที่เสนอแนะมหาวิทยาลัยจัดหาอินเทอร์เน็ตให้ครอบคลุมทุกห้องเรียนเพื่อให้การการสอนผ่านระบบ e-learning มีประสิทธิภาพ ส่วนปัญหาของอาจารย์คือการติดต่อสื่อสารกับนักศึกษายังทำได้ไม่ดีพอ โดยเฉพาะการเรียนการด้านภาษาที่ต้องเน้นทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ในภาษาต่างประเทศดังนั้นอาจารย์จึงเสนอแนะว่าไม่ควรใช้ระบบ e-learning ในวิชาที่สอนด้าภาษาแต่ควรใช้ในวิชาอื่นๆ ที่มีนักศึกษาเป็นจำนวนมากเช่นวิชาศึกษหรือวิชาทางด้านคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

The purpose of this research was to study the teachers and students’ satisfaction of faculty of humanities and social sciences Sisaket Rajabhat university toward teaching and learn-ing via e-learning. The e-learning in this study was constructed by Software Engineering teacher of Sisaket Rajabhat University. Population in the study consisted of 3 teachers and 62 students who used the software. The research was conducted by struc-tured interview of teachers and surveyed by questionnaires by students. The data from teachers were analyzed by contents analysis while the data from students were analyzes by the per-centage, the means, and the standard deviation. The research findings are detailed below : Teachers satisfied toward teaching via e-learning systems are moderate. Their reasons were teaching through e-learning are useful for learning so much but it needs to improve in sev-eral parts in order to respond to the needs of enhancement efficiency of teaching even more. The advantages of teaching through the system was it is a tool that can help teachers and students work in part-time. However, It had some limitations and should not be used in all subjects especially the subjects taught in practice and language because teachers and students could not interact with each other immediately with face to face. The Students’ satisfaction in overall is moderate ( gif.latex?\bar{x}= 3.38 S.D.=71). When it was distinguish in each categories, the results found that : Their satisfaction toward learning effectiveness is45วารสารวิชาการ มนุษย์และสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม –มิถุนายน 2560moderate ( gif.latex?\bar{x}= 3.48 S.D. = 0.72). Their satisfaction toward the management system was at the high level ( gif.latex?\bar{x}= 3.53 S.D. = 0.80) as well as communications ( gif.latex?\bar{x}= 3.58 S.D. = 0.73). The problems and suggestions of students were found that they had similar problem. The important problem was internet in the university is not available enough, it’s not covered in all classrooms. By this reason, the learning via e-learning was interrupted and was not continuous. Therefore, their recom-mendations were the university should provide internet access to all classrooms for effective learning. While the teachers’ problems were communication with student was not good enough especially in language subjects that have to focus on listening, speaking, reading and writing skills so e-learning was not suitable with these subjects, but should be used in other subjects such general education course or computer sciences subjects.

References

กนกพร ศรีญาณลักษณ์ และคณะ. (2554)การส. สำรวจความพึงพอใจต่อ การเรียนบทเรียนออนไลน์ภาษาเกาหลี ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น 1. วารสาร วิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 19(31), 105-121.

จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2555). อีเลิร์นนิงคอร์สแวร์. กรุงเทพฯ: สำนักแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชาลี ศิริพิทักษ์ชัย และคณะ. (2551). ความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ย กับ การเรียนการสอนโดยใช้ e-Learning. วิทยานิพนธ์พยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์และ สรีรวิทยา วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม.

นันทินา กิมตระกูล. (2550). ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการสอน ออนไลน์ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต (e-Learning) ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎ สวนดุสิตในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปรัชญนันท์ นิลสุข. (2554). เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ประยูร เอี่ยมอำนวย. (2550). การจัดการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอน ตามทัศนะครูผู้สอนกลุ่ม สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจศึกษา บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ไพฑูรย์ พิมดี. (2548). ความคิดเห็นและการยอมรับการเรียนการสอน ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถา เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะ ครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง.

ไพรศาล ลุนใต้. (2550). การศึกษาทัศนคติของอาจารย์มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ เกี่ยวกับการนำระบบ อีเลิร์นนิง (e-Learning) มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

มนทิรา พินิจจินดาพันธุ์. (2553). การศึกษาพฤติกรรมการใช้และความ พึงพอใจของพนักงานที่มี ต่อระบบ e-learning ของ ธนาคารกสิกรไทยจำกัด มหาชน ในฐานะที่เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้.วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

วิเชียร ศรีพระจันทร์ และเอกภพ อินทรภู่. (2549). บริบททางสังคมของ อาจารย์ที่ส่งผลต่อการยอมรับระบบสื่อการเรียนรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

Downloads

Published

27-11-2022

How to Cite

พวงอก อ. (2022). การศึกษาความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษต่อการเรียนการสอนผ่านระบบการเรียนอีเลิร์นนิ่ง (E-Learning) . Journal of Human and Society, Sisaket Rajabhat University, 1(1), 43–62. Retrieved from https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/512